1 / 13

3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา

3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา. ความหมาย. “ ประเทศที่มีระดับรายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อบุคคล ต่ำ เมื่อเปรียบเทียบ กับประเทศอื่นๆ”. World Bank’s Classification System. ใช้ Gross National Income per capita เป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาทางเศรษฐกิจ

Download Presentation

3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา ความหมาย • “ประเทศที่มีระดับรายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อบุคคลต่ำเมื่อเปรียบเทียบ กับประเทศอื่นๆ”

  2. World Bank’s Classification System • ใช้ Gross National Income per capita เป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาทางเศรษฐกิจ • ประเทศต่างๆ ถูกจัดเป็นกลุ่มโดยใช้ GNI ในปี 2000 ได้ดังนี้ • Low Income Countries (LIC):  $ 755 • Lower-Middle Income Countries (LMC): $ 756-2,995 • Upper-Middle Income Countries (UMC): $ 2,995-9,265 • High Income Countries:  $ 9,266

  3. 3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา ความหมาย • “ประเทศที่มีระดับรายได้ที่แท้จริงเฉลี่ยต่อบุคคลต่ำเมื่อเปรียบเทียบ กับประเทศอื่นๆ” Jacob Viner, “The Economic of Development” • “ประเทศที่มีโอกาสหรือลู่ทางอย่างดีในการใช้ทรัพยากรไม่ว่าจะเป็นทุน แรงงานหรือทรัพยากรธรรมชาติให้มากขึ้น • เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ของประชากรปัจจุบันให้เพิ่มสูงขึ้นหรือไม่ให้ระดับความเป็นอยู่ของประชากรที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคตลดต่ำลง”

  4. 3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา (ต่อ) • พิจารณาได้จากความสามารถของประเทศนั้นๆ ในการจัดหาสินค้าและบริการในการอุปโภคบริโภคให้กับประชากร สรุป: • “ประเทศที่ประชากรส่วนใหญ่ยากจนและยากจนมาเป็นเวลาช้านาน ซึ่งเกิดจากความไม่สามารถที่จะใช้ทรัพยากรที่ประเทศมีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ได้ แต่ยังมีโอกาสที่จะนำเอาทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ของประชากรให้ดีขึ้น”

  5. 3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา (ต่อ) สภาพที่คล้ายคลึงกันของประเทศกำลังพัฒนา มีดังนี้ มีอัตราการเพิ่มของประชากรค่อนข้างสูง จากอัตราการเกิดสูง มีกำลังแรงงานในภาคเกษตรมาก ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาต่ำ ประสิทธิภาพการผลิตต่ำ (low levels of productivity) มีรายจ่ายเกี่ยวกับอาหารและสิ่งจำเป็นในสัดส่วนที่สูงเทียบกับรายได้ การสะสมทุนหรือออมทรัพย์มีในกลุ่มเล็กๆ ที่ค่อนข้างร่ำรวย สินค้าออกเป็นวัตถุดิบ/สินค้าเกษตร สินค้าเข้าเป็นสินค้าอุตสาหกรรม อัตราการว่างงานค่อนข้างสูง มีอัตราการพึ่งพา (dependency ratio) สูง

  6. 3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา (ต่อ) Todaroเพิ่มเติมว่า ลักษณะของประเทศกำลังพัฒนานั้นจะรวม มีมาตรฐานการครองชีพที่ต่ำ การกระจายรายได้ไม่เท่าเทียมกัน ประชากรส่วนใหญ่ยากจน มีความสัมพันธ์กับประเทศที่พัฒนาแล้ว ในลักษณะพึ่งพาและขาดเสถียรภาพ

  7. 4 การพัฒนาการเกษตรกับการพัฒนาชนบท การพัฒนาการเกษตรเชื่อมโยงกับการพัฒนาชนบทอย่างไร? ประชากรในชนบทส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร การพัฒนาการเกษตรให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น จะส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจในชนบทดีขึ้น ประสิทธิภาพการผลิตภาคการเกษตรที่สูงขึ้น ส่งผลให้ค่าครองชีพในชนบทต่ำ การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการผลิตภาคการเกษตร นำความเจริญมาสู่ชนบทด้วย ดูบทบาทของภาคการเกษตรในการพัฒนาประเทศในบทที่ 2

  8. ประชากรและแรงงานในประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนาประชากรและแรงงานในประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา

  9. จำนวนประชากรในชนบทและภาคเกษตร จำแนกตามกลุ่มประเทศ

  10. จำนวนประชากรเกษตรและนอกเกษตรของไทย ตามแผนพัฒนาฯฉบับที่3-8

  11. สัดส่วนของประชากรเกษตรและนอกเกษตรของไทย ตามแผนพัฒนาฯฉบับที่3-8

  12. ระดับการศึกษาของแรงงานไทย ปี 2541 เทียบกับ ปี 2546

  13. เปรียบเทียบสัดส่วนของสินค้าส่งออกระหว่างประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนาแล้วเปรียบเทียบสัดส่วนของสินค้าส่งออกระหว่างประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนาแล้ว

More Related