2.6k likes | 3.83k Views
การวางแผนกลยุทธ์. (แผนยุทธศาสตร์( Strategic Plan)). ภาครัฐ. ดร. อุทิศ ขาวเธียร ‘ cantab ’ 84. ดร. อุทิศ ขาวเธียร ( cantab ‘ 84 ) รองเลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการบริหาร สภาวิจัยแห่งชาติ (2549-2552) กรรมการสภามหาวิทยาลัย ราชภัฎอุบลราชธานี
E N D
การวางแผนกลยุทธ์ (แผนยุทธศาสตร์(Strategic Plan)) ภาครัฐ ดร. อุทิศ ขาวเธียร ‘cantab’84
ดร. อุทิศ ขาวเธียร ( cantab ‘84 ) รองเลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการบริหาร สภาวิจัยแห่งชาติ (2549-2552) กรรมการสภามหาวิทยาลัย ราชภัฎอุบลราชธานี กรรมการสภาวิทยาลัย เทคโนโลยีสยาม วุฒิสถาปนิก : (ว-สผ 2) ; (กรรมการ สภาสถาปนิก ประเทศไทย 2543-2546) แนะนำผู้บรรยาย ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์ เทคโนโลยีพระจอมเกล้า(ลาดกระบัง) Far Eastern University (Philippines) ปริญญาโท ผังเมือง/แผน สิ่งแวดล้อม University of the Philippines (UP.) ปริญญาเอก-เศรษฐศาสตร์ประยุกต์(แผนภาค-ผังเมือง) University of Cambridge; UK. ติดต่อ;- Office (662) 282-0726 ; Mobile tel.(01) 815-3950 E-mail < utis@nesdb.go.th > การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2546
แผนฯเป็นเครื่องมือของผู้บริหารทุกระดับแผนฯเป็นเครื่องมือของผู้บริหารทุกระดับ • แผนฯช่วยชี้แนะแก่ผู้บริหารในกระบวนการตัดสินใจ เพื่อบริหารอย่าง • อย่างถูกทิศทาง • มีทางเลือกปฏิบัติที่เหมาะสม • สามารถเร่งรัดปรับเปลี่ยนการจัดการอย่างทันกาล การวางแผนฯเป็นกระบวนการ “คิดก่อนทำ” การบริหารต้องการแผนฯเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยให้เกิดผลสัมฤทธิ์ แผนกลยุทธ์ชี้นำให้องค์กรอยู่รอดและแข่งขันได้ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ต.ค../2546
องค์ประกอบหลักการยกร่างแผนองค์ประกอบหลักการยกร่างแผน ด้านศาสตร์ ด้านศิลป์ • แนวคิด หลักการ ทฤษฎี • หลักการบริหาร จัดการ (ทั่วไป/เฉพาะ) • แนวคิดริเริ่ม • ความเห็น มุมมองที่เกี่ยวข้อง • จินตนาการ • เทคนิคการวางแผนฯ • การติดตามประเมินผล แผนฯ • กระบวนการมีส่วนร่วม • การศึกษา วิเคราะห์ • การคาดการณ์ • การเปรียบเทียบ จัดลำดับ ด้านประสบการณ์ • ภูมิปัญญาองค์ความรู้ บุคลากร/องค์กร • ความชำนาญ • ความเข้าใจการเมือง • ปรีชาญาณ อุทิศ 2549
การบริหารเชิงกลยุทธ์;ความพร้อม3ด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์;ความพร้อม3ด้าน แผนที่ดี (แผนกลยุทธ์) พัฒนาบุคลากร บริหารแบบก้าวหน้า (การพัฒนาทรัพย์กรบุคลากร) (กระบวนการดำเนินงาน) (ระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์) องค์กร (พัฒนาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้) การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/พ.ค./2546
องค์ประกอบหลักการวางแผนกลยุทธ์องค์ประกอบหลักการวางแผนกลยุทธ์ (ขั้นตอนการบริหารเชิงยุทธ์) (Strategic Management Steps) ปรับยุทธการ ดำเนินการ ด้านกลไก& การกำกับ และ ติดตาม การประเมิน กำหนดทิศทาง พัฒนาองค์กร ด้าน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก การยกร่าง และกำหนด ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์) การ พัฒนา กำหนด ยุทธวิธี (กลวิธี) การ ดำเนินงาน การวิเคราะห์ ภาวะแวดล้อม ภายนอก และ ภายใน FEEDBACK(การปรับองค์ประกอบหลักของแผนให้สอดรับกัน) Source;Strategic Management, A focus process: Samuel C. Certo; J. Pall Peter; 1988 การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/ธันวาคม/2542
เทคนิกการวางแผนกลยุทธ์และสถานะองค์กรเทคนิกการวางแผนกลยุทธ์และสถานะองค์กร (ขั้นการวางแผนฯเบื่องต้น ; Strategic Steps) แนวคิด-หลักการ;พัฒนบริหาร ปรับยุทธการ ดำเนินการ ด้านกลไก และ ติดตาม การประเมิน กำหนดทิศทาง พัฒนาองค์กร ด้าน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก การยกร่าง และกำหนด ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์) การ พัฒนา กำหนด ยุทธวิธี (กลวิธี) การ ดำเนินงาน การวิเคราะห์ ภาวะแวดล้อม ภายนอก และ ภายใน 2 3 4 1 5 3 4 5 1 2 ดีที่สุด แผนกลยุทธ์ เพื่อ พัฒนาให้เป็นคู่แข่งที่ดีที่สุด 1 3 2 4 5 แผนกลยุทธ์ เพื่อ พัฒนาให้อยู่ได้ดีที่สุดตามศักยภาพแวดล้อม ดีกว่าเดิม แผนกลยุทธ์ เพื่อ พัฒนาตามสภาวะแวดล้อมให้อยู่รอด ขออยู่รอด การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/เม.ย/2547
S W O T Analyses การคิดเชิงยุทธ์ • Mandates • Legislation • Policies • charter • Local gov. • philosophy • principles • practices Evalution Criteria Values Stakeholders expectation The Strategy Responsibilities of the Local Government, the community, private organizations and individuals Community expectation VISION (Desired Future) The Stratergic issues Problems to be addressed /Demands to be met The Options Development service delivery and service level choices Monitoring and Review Review outcome of implementation and refine / refocus strategies Implementation Actions, Programs, Projects, Budgets and performance measures Priorities / Trade-offs • Situation Analyses • External Influence • Local conditons • Constrains Likely futures Phase 1; Where are we now? Phase 3; What issues do we need to address? Phase 4; What actions must we take to get there? Phase 2; Where would we like to be? Source; Nathaniel von Einsiedel; How to prepare a city strategic plan ; 9/May/97 การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/กรกฏาคม/2542
องค์ประกอบหลักแผนยุทธศาสตร์องค์ประกอบหลักแผนยุทธศาสตร์ “ส่วนเป้าประสงค์” เสริมการ ประสานงาน (เป็นสัญญาประชาคม) (PSA) วัตถุประสงค์/ เป้าหมายหลัก (ความต้องการ) พันธกิจ วิสัยทัศน์ ติดตาม ประเมิน SWOT “ส่วนทางเลือก” ลดความเสี่ยง เพิ่มประสิทธิภาพ “ส่วนกลไก พลักดันกระบวนการ” เพิ่มประสิทธิผล & ความคล่องตัว ยุทธศาสตร์ กลไก ระเบียบ วัฒนธรรม ยุทธวิธี การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/มีนาคม/2543
วัตถุประสงค์/ เป้าหมายหลัก (ความต้องการ) พันธกิจ วิสัยทัศน์ ติดตาม ประเมิน SWOT ยุทธศาสตร์ กลไก ระเบียบ วัฒนธรรม ยุทธวิธี “ตกลงว่าแผนกลยุทธ์ที่ทำเป็น แผนระดับใดจะเกี่ยวข้องกับ แผนระดับอื่นอย่างไร (เพื่อการชี้นำร่วมกันได้อย่างไร) ขอบข่ายการชี้นำที่จะต้องเน้น ให้มีในแผนฯนี้จะมีอะไร และ มากน้อยเพียงใด”
เป้าประสงค์ : พันธกิจ มิติด้านกลุ่มเป้าหมาย มิติด้านสาธารณะ “ผลงานคุ้มในสายตาสาธารณะ” “ผลงานที่กลุ่มเป้าหมายได้” มิติด้านการจัดการ(ภายใน) “การบริหารแลระบบการทำงานที่ดี” มิติด้านการแข่งขันอยู่รอด “การเรียนรู้และการปรับสมรรถนะ” ประโยชน์ระบบบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ และการจัดการเชิงกลยุทธ์ เป้าประสงค์ Strategy Map แผนงาน-โครงการ ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการพัฒนา ยุทธศาสตร์ RBI SWOT KPI องค์กร-กลไก จัดการ/กำกับ การชี้นำ การประเมิน สถานการณ์ การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/สิงหาคม/2546
การวางแผนกลยุทธ์จากการมีส่วนร่วมการวางแผนกลยุทธ์จากการมีส่วนร่วม ช่วงการวิเคราะห์ สถานการณ์ร่วม ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้าน การดำเนินงาน ภายนอก/ใน พันธกิจสมมุติ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้าน การบริหาร-จัดการ SWOT ภาพอนาคต ช่วงการกำหนด เป้าประสงค์ร่วม อย่างมีบูรณาการ วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์/ เป้าหมายหลัก (ความต้องการ) พันธกิจ ภาครัฐ ประชาชน ยุทธศาสตร์ ปรับ กลไก ปรับ ระเบียบ วัฒนธรรม ช่วงการกำหนด แนวทาง กลไกขับเคลื่อน ร่วม ยุทธวิธี ผัง-ยุทธ์ฯ ติดตาม ประเมินผล การวางแผนอย่างมีส่วนร่วม “ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมกันรับผิดชอบ” การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/ตุลาคม/2546
กระบวนการวางแผน โดย การมีส่วนร่วม ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมกันรับผิดชอบ ขจัดความขัดแย้ง อุปสรรคการปฎิบัติที่ไม่จำเป็น ต่อรองและกำหนดจุดยอมรับร่วมกัน ทุกขั้นตอน ลงทุนเตรียมการสูง ลดทุนปฏิบัติการได้มากกว่า การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ต.ค../2546
ระบบบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์โดยเน้นผลลัพธ์จาก 4 มุมมอง (Balanced Scorecard) Management;Internal Perspective Customers;External Perspective ความเห็น ความต้องการ เป้าประสงค์ ผลงานที่ลูกค้า และผู้มีส่วนได้เสียประโยชน์ ต้องการได้เห็น (ผู้รับบริการ ประชาชน หน่วยราชการ รัฐบาล) สมรรถนะบุคลากร กระบวนการทำงาน บทบาทโครงสร้างองค์กรวัฒนธรรม ค่านิยมที่ลูกค้า-ผู้ถือหุ้นพอใจ สมดุล วัตถุประสงค์ระยะยาว-สั้น การดำเนินการต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภายใน-ภายนอก การกำกับ ชี้นำ ทั้งสาขาหลักและสาขาสนับสนุน มาตรการทั้งด้านการเงินและที่มิใช่การเงิน และสมดุลของเหตุ-ผล สมดุล ปัจจุบัน อนาคต Financial Perspective Innovation(;Learning) Perspective ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการจัดสรรงบตาม แผน-วัตถุประสงค์การกำกับตรวจสอบ ป้องกันทุจริต การติดตามประเมินผล (ที่สาธารณะยอมรับ) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูลพัฒนาเครือข่าย ระบบงาน งานวิจัย นวัตกรรม การใช้ประโยชน์ Robert S. Kaplan & David P. Norton ; 1996 การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ต.ค../2546
A good city is... • Where residents should not feel inferior • It facilitates and accommodates walking/ • pedestrians • It compliments people-to-people contact • It needs to be good to children, and elderly • and the handicapped • It should facilitate planty of communication What is a sustainable city ? • It is a pleasure to live in • It is people friendy Source;“Enrique Penalosa, Formar mayor of Bogota, Columbia”
วิวัฒนาการของ...ปรัชญาการพัฒนาประเทศวิวัฒนาการของ...ปรัชญาการพัฒนาประเทศ Balanced Development Sufficiency econ. Growth Sustainable development Industrialization Integrated&Cluster Top-down Top-down & Bottom up Project Analysis Setoral Analysis Inter-Setoral Analysis Programming (Issues) & Comprehensive App. Strategic Plan
กระบวนการหลักการจัดทำแผนฯกระบวนการหลักการจัดทำแผนฯ ภารกิจ-ขอบข่ายการวางแผนฯ เวลา 4 W 4 W 4 W 6W 6W 8W 8W 8W ทบทวนเอกสาร-สัมภาษณ์-สำรวจ-ประสานข้อมูล การยกร่างองค์ประกอบแผนของกลุ่มเลขานุการ-Facilitators Workshop 1 (ยกร่าง SWOT วิสัยทัศน์/เป้าหลัก/พันธกิจ) ประชาพิจารณ์ 1000 คน Workshop 2 (วิเคราะห์ร่างยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี และผังความสัมพัน์ยุทธ์ ) Workshop 3 (วิเคราะห์กลไก/การติดตาม/ประเมินผล) ร่างแผนฯรวมฉบับร่าง1 ประชาพิจารณ์ 1000 คน ปรับปรุง-ร่างแผนฯรวมฉบับร่าง2 เวียรแผนฯยังผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย แผนฯฉบับปรับปรุง ดำเนินการ-ติดตามผล การประชุมกรรมการกำกับการวางแผนฯ อุทิศ/กันยายน/2543
ตารางแผนงานการยกร่างแผนกลยุทธ์ตารางแผนงานการยกร่างแผนกลยุทธ์ เวลา หมายเหตุ ภาระกิจการวางแผน 1 2 3 4 5 6 7 8 1 การเตรียมงานวางแผน วันที่ 22ม.ค.2546 ; บรรยายเบื่องต้น 2 กำหนดพันธกิจสมมุติ 29 ม.ค. ; ตรวจร่างและบรรยายการวิเคราะห์SWOT 5 ก.พ. ; ตรวจร่างSWOT และ แนะการจัดลำดับฯ 3 การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม SWOT Analysis 4 กำหนดเกณท์/จัดลำดับความสำคัญSWOTและจินตนาการอนาคต 12ก.พ. ; ตรวจร่างการจัดลำดับฯและแนะร่างเป้าฯ 5 กำหนดร่างเป้าประสงค์(วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก) 19ก.พ. ; ตรวจร่างเป้าฯและตกลงแนวการสัมนาฯ 6 การสัมนาผู้มีส่วนเกี่ยวข้องครั้งที่ 1 27 ก.พ. ; พิจารณา SWOT และเป้าประสงค์ 7 การปรับร่าง เป้าประสงค์ และ กำหนดดัชนีเบื่องต้น ก.พ.. ; บรรยายการกำหนดกลยุทธ์-กลวิธี มี.ค-.เม.ย. ; ประสานการกำหนดกลยุทธ์-กลวิธี 8 ยกร่าง ยุทธศาสตร์-ยุทธวิธี (Strategy/Project idea) 9 การสัมนาผู้มีส่วนเกี่ยวข้องครั้งที่ 2 15เม.ย ; พิจารณา กลยุทธ์-กลวิธี (ผังความสัมพันธ์ยุทธศาสตร์ระดับแผนงาน) 10 การปรับร่างยุทธศาสตรื-ยุทธวิธี และ ผัง-แผนที่เชิงยุทธ์ 11 การยกร่าง แผนงาน/โครงการ โดยหน่วยงานรับผิดชอบ 16พ.ค.; บรรยาย การปรับองค์กร-กลไก แผนกลยุทธ์วิทยาลัยแพทย์พระมงกุฏฯ อุทิศ ม.ค.46
ตารางแผนงานการยกร่างแผนกลยุทธ์ (ต่อ) เวลา หมายเหตุ ภาระกิจการวางแผน 1 2 3 4 5 6 7 8 12 ยกร่างกลไก และ ระเบียบ และ วัฒนธรรมองค์กร 13 การกำหนดกระบวนการจัดการและร่างโครงสร้างการบริหาร 14 กำหนดดัชนี การติดตาม-ประเมินผล 15 การตรวจสอบความสอดคล้องแผนงาน-โครงการและแผนฯ 16 การสัมนา ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ครั้งที่ 3 17 ปรับแผนกลยุทธ์ และผังความสัมพันธ์ยุทธศาสตร์ทุกระดับ 18 การพิจารณาและอนุมัติแผนฯ และการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 19 การวิจัย ประกอบการวางแผน และ การชี้นำการปฏิบัติ ม.ค. กำหนด TOR 20 การร่างแผนปฏิบัติการ และ การใช้ประโยชน์แผนฯ 21 การติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามแผนฯ 22 การปรับปรุงการชี้นำของแผนฯอย่างต่อเนื่อง แผนกลยุทธ์วิทยาลัยแพทย์พระมงกุฏฯ อุทิศ ม.ค.46
SWOT พันธกิจสมมุติ ; 3-5 ปีข้างหน้า ตัวแปรที่มีอิทธิพล ผลสำเร็จ ความล้มเหลว อุทิศ สค. 2545
ภารกิจหลักของกรมการประกันภัย กระทรวงพาณิชย์ ภาระกิจหลักตามกฏหมาย • กำกับดูแลฐานะการเงินและการประกอบธุระกิจของบริษัทประกันภัย ตัวแทนและนายหน้าประกันภัย • คุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้เอาประกันภัยและประชาชน • ส่งเสริมพัฒนาให้ธุระกิจประกันภัยมีความเจริญก้าวหน้าอย่างมีประสิทธิภาพเป็นกลไกสำคัญต่อการพัฒนารวมของประเทศ • กำกับดูแลให้มีการปฎิบัติตามกฏหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ภาระกิจหลักที่ได้รับมอบหมาย • ส่งเสริมพัฒนาธุระกิจประกันภัยทั้งประกันชีวิตและประกันวินาศภัยให้เจริญก้าวหน้ามั่นคง และเติบโตที่เหมาะสม • มีเสถียรภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของประชาชนและสังคม • จัดให้มีปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของธุระกิจประกันภัย • พัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับการเปิดเสรีธุรกิจประกันภัยและด้านอื่นๆ • การให้ธุระกิจประกันภัยร่วมสนับสนุนและสร้างมาตรฐานการจูงใจต่อลดความถี่และความร้ายแรงของการเกิดอุบัติเหตุและอุบัติภัย ภาระกิจหลักที่สาธารณะมุ่งหมาย • ผู้ประกอบการดำเนินการตามกฏหมายอย่างเคร่งครัด มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีการบริหารจัดการที่ดีมีมาตรฐานสากล • ประชาชนได้รับบริการที่ดีได้รับสิทธิประโยชน์จากระบบประกันภัยครบถ้วนรวดเร็วเป็นธรรม • ธุรกิจประกันภัยเติบโตอย่างมั่นคงมีเสถียรถาพ มีขีดความสามารถพร้อแข่งขัน • การติดต่อประสานงานไม่ยุ่งยากซับซ้อน
ร่างพันธกิจสมมุติ ของกรมการประกันภัย กระทรวงพาณิชย์ “กำกับดูแลฐานะการเงินและการประกอบธุระกิจของบริษัทประกันภัย ตัวแทนและนายหน้า ประกันภัย ให้ดำเนินการตามกฏหมาย อย่างเคร่งครัดมีวินัย มีความรับผิดชอบต่อสังคมมีการ บริหารจัดการที่ดีมีมาตรฐานสากลมีเสถียรถาพและขีดความสามารถพร้อมแข่งขันตลอดจน พัฒนาบุคลากร ให้สามารถรองรับการเปิดเสรีธุรกิจ ร่วมสนับสนุนและสร้างมาตรฐานการจูง ใจต่อลดความถี่และความร้ายแรงของการเกิดอุบัติเหตุและอุบัติภัย ควบคู่การส่งเสริมพัฒนา ให้เจริญก้าวหน้ามั่นคงและเติบโต อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพมีเสถียรภาพเป็นที่ยอมรับ ของประชาชนและสังคมเป็นกลไกสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ คุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้เอาประกันภัยและประชาชน ให้ได้รับบริการที่ดี ได้รับสิทธิ ประโยชน์จากระบบประกันภัยครบถ้วนรวดเร็วอย่างเป็นธรรมตามกฏหมายไม่ยุ่งยากซับซ้อน” (สัญญลักษณ์; ต้องรบ ให้ชนะอย่างกล้าหาญ ) (อัศวินต้องรบ ให้กษัตริย์ชนะอย่างกล้าหาญ) (ใครทำอะไร ให้ใคร แค่ไหนอย่างไร)
ร่างพันธกิจสมมุติ การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม แผนพัฒนากาญจนบุรี ประสานและผลักดันให้เกิดการเร่งรัดการดำเนินการหลักของภาครัฐด้านต่างๆให้เกิดการพัฒนาทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และความมั่นคงชายแดน ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาโครงข่างโครงสร้างพื้นฐานระดับต่าง อย่างมีบูรณาการ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ที่เสริมสร้างวิถีชีวิตประชาชนและคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างทั่วถึงและมีมาตรฐานตามแผนชาติและตามนโยบายของรัฐ โดยมีการพัฒนาการบริหารจัดการที่ดีและทันสมัย ควบคู่กับการพัฒนากลไกและบุคลากรในภาครัฐให้เกิดกลไกการเรียนรู้ที่มีความรับผิดชอบ สามารถสนองความต้องการของประชาชนและเสริมสมรรถนะการแข่งขันทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมแก่กาญจนบุรีได้อย่างรู้เท่าทันสากล 17 Sept.2004
การวิเคราะห์ตัวแปร “เรา-เขา” ตัวแปร ; สิ่งมีอิทธิพลที่สำคัญต่อองค์กรให้เกิดความสำเร็จและหรือความล้มเหลวตัวแปร “เรา”ที่มีอยู่ ของ ภาคีการพัฒนา หรือ องค์กร (องค์กร ภายใน ผู้ใช้แผน หรือประชาคม ผู้ที่ต้องรับผิดชอบการพัฒนาโดยตรงของการพัฒนาระดับนั้นๆ(แผนพัฒนาระดับนั้น)ภาครัฐ กระทรวง มหาวิทยาลัย กรมที่เกี่ยวข้อง รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน วิสาหกิจ บริษัท มูลนิธิ มหาวิทยาลัย) โดยทั่วไป พิจารณาตัวแปร “เรา”ที่เป็นภาคีฯหรือปัจจัยทั้ง ตัวแปร ที่เป็น ปัจจัยพื้นฐานการประกอบการ คน(หน่วย) เงิน ข่าว วัตถุดิบ ตัวแปร ในการดำเนินการ ระบบบริหาร การผลิต ขาย วัฒนธรรม ตัวแปร ที่เป็นผลผลิต คุณภาพสินค้า-บริ การ ภาพลักษณ์ ฯลฯ ตัวแปร “เขา” ของภาวะภายนอก(สิ่งที่องค์กรควบคุมมิได้) โดยทั่วไป พิจารณาตัวแปร “เขา”ทั้ง ตัวแปรที่เป็น(จะเป็น)สภาวะที่มีอิทธิพล (ตลาด) เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโน ตัวแปรที่เป็น(จะเป็น)ลูกค้า ประชาชน ผู้ประกอบการ ตัวแปรที่เป็น(จะเป็น)คู่แข่ง ประชาคมต่างประเทศ ฯลฯ อุทิศ เม.ย 2544
บทบาทตัวแปร ; มีบทบาทและหรือผลกระทบ-คุณลักษณะทั้ง ทางบวกและลบต่อการพัฒนา (สูตรการวิเคราะห์ SWOT) สภาวะแวดล้อมที่ชัดเจน = ตัวแปร + บทบาทตัวแปร (โดยอาจมีปรากฏการณ์หรือผลกระทบเป็นสิ่งยืนยันความเป็นอยู่จริงของภาวะได้) ตัวแปร บทบาทตัวแปร เหนือพันธกิจสมมุติ บวก/ลบ เขา/เรา การศึกษา/วิจัย เขา/เรา บวก/ลบ พันธกิจสมมุติ สัมภาษณ์ บวก/ลบ เขา/เรา ต่ำกว่าพันธกิจสมมุติ สภาวะแวดล้อม อุทิศ เม.ย 2544
การวิเคราะห์บทบาทหลักสภาวะแวดล้อมการวิเคราะห์บทบาทหลักสภาวะแวดล้อม โอกาส • พิจารณาจากบทบาทหลักที่สนับสนุนพันธกิจสมมุติ • (บทบาทเพื่อความอยู่รอดและแข่งขันได้) ด้าน • ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล • การบริหารที่ดี อย่างมีส่วนร่วม • การสนองความต้องการกลุ่มเป้าหมาย • การมีนวตกรรมอย่างต่อเนื่อง • ฯลฯ (วิชาชีพ วิชาการ) ภาวะคุกคาม BSC จุดแข็ง จุดอ่อน อุทิศ ขาวเธียร กค.2545
ตัวแปรอาจเปลี่ยนจาก “เขา” เป็น “เรา” ได้ หากสถานะของตัวแปรและระดับของแผนฯที่วางเปลี่ยน (ต.ย. รัฐบาลเป็น “เรา” ในแผนฯระดับชาติ และอาจ เป็น “เขา”ในแผนระดับจังหวัด) บทบาทตัวแปรอาจเปลี่ยนสลับ ระหว่าง “บวก”และ “ลบ” ได้ หาก เวลา – สถานที่ –ความสัมพันธ์ ฯลฯ ของสถานการณ์เปลี่ยนแปลง ? ...then who know อุทิศ เม.ย 2544
ตัวแปร บทบาท และ สภาวะแวดล้อมที่เกิด โอกาส บวก ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม ที่มีบทบาทเป็น กำกับไม่ได้ เขา ภาวะคุกคาม ลบ ที่มีบทบาทเป็น ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม จุดแข็ง บวก ที่มีบทบาทเป็น ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม กำกับได้ เรา จุดอ่อน ลบ ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม ที่มีบทบาทเป็น อุทิศ ขาวเธียร กค.2545
ตัวแปร บทบาท และ สภาวะแวดล้อมตัวอย่าง เกี่ยวโดยอ้อม • นโยบายลดกำลังคนของประเทศสวนทางกับความต้องการของวิทยาลัยฯ • ระเบียบการเงินของกองทัพจำกัดความคล่องตัวของวิทยาลัยฯ ประมาณขอบข่าย พันธกิจสมมุติ • การบริหารบุคลากรของวิทยาลัยเสริมความก้าวหน้าของบุคลากรฝ่ายฯ • ข้อจำกัดการคัดเลือกที่กำหนดทำให้ผู้สมัครส่วนใหญ่ไม่เลือกเข้าเรียน กรณีเฉพาะ(คน)เกี่ยวโดยอ้อม อุทิศ ขาวเธียร กค.2545
วิเคราะห์ภาวะแวดล้อมภายนอกวิเคราะห์ภาวะแวดล้อมภายนอก ภาวะแวดล้อมภายนอกนั้นองค์กรควบคุมไม่ได้และหรือไม่ได้ควบคุม การพิจารณา โอกาส ด้านต่างๆอาทิ -การแข่งขันและการลงทุนใหม่ -การหาแนวร่วม -การเข้าสู่ยุทธศาสตร์ที่ดีกว่าได้เปรียบกว่า -การชิงแนวทาง(ภายนอก)ที่ดีกว่า -ฯลฯ Issue,Situation,Technique การพิจารณา ภาวะคุกคาม ด้านต่างๆอาทิ -คู่แข่งและการลงทุนของฝ่ายตรงข้ามขยายตัว -มีสิ่งทดแทนใหม่ต่อทรัพยากรที่มีอยู่ของเรา -บรรยากาศที่เป็นอุปสรรค(ตลาดไม่ขยายตัว) -อำนาจการต่อรองจากภายนอก -การเปลี่ยนท่าทีกลุ่ม -ฯลฯ สรุป: วิเคราะห์แนวโน้ม คู่แข่ง/ลูกค้า การแข่งขัน/ความร่วมมือ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
ตัวอย่าง ตารางการวิเคราะห์ โอกาสและอุปสรรค-คุกคามขององค์กร การวิเคราะห์ภาวะแวดล้อมภายนอก(โอกาส/ข้อจำกัด)ของพันธกิจด้าน……… (องค์ประกอบภาวะแวดล้อมภายนอกครอบคลุม…………………) เป็นส่วนที่จะต้องคำนึงถึงในการติดตามประเมินผล การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พ.ค./2543
โดยปกติควรสรุปได้ว่าตัวแปรใดมีผลเป็นบวกหรือลบโดยปกติควรสรุปได้ว่าตัวแปรใดมีผลเป็นบวกหรือลบ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พ.ค./2543
วิเคราะห์ภาวะแวดล้อมภายในวิเคราะห์ภาวะแวดล้อมภายใน ศึกษา-ตรวจสอบทรัพยากรปัจจัยหลัก“ที่มีอยู่”ขององค์กร ทั้ง (input) มาตรการและกระบวนการทำงาน ( process) ผลงานขององค์กร (out put) จุดแข็งขององค์กร:- -สมรรถนะองค์กร(การบริหาร บุคลากร ประสบการณ์การแข่งขัน) -ความพร้อมทางการเงิน -ความพร้อมทางเทคนิค วิชาการ -ความคิดสร้างสรร -ฯลฯ Issue,Situation,Technique จุดอ่อนขององค์กร:- -ขาดแผนงาน ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธี -เทคนิค เครื่องมือ อุปกรณ์ล้าสมัย -การบริหาร บุคลากร ไร้ฝีมือ -ขาดค่านิยมร่วม สิ่งจูงใจ -ขาดทรัพยากร -ฯลฯ สรุป: วิเคราะห์ ทรัพยากร การบริหาร/กลไก การประกอบการและผลลัพธ์ การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/เมษายน/2542
ตัวอย่าง ตารางการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง ภายในองค์กร(ต่อ) หมายเหตุ;ข้อมูลสภาวะแวดล้อมและสมมุติฐานตลอดจนเหตุ-ผล เบื้องหลัง ควรจะสท้อนความจริงและมีความชัดแจ้ง ทั้งในแง่ความ สัมพันธ์และผลกระทบ เพราะจะเป็นข้อมูลที่ใช้และกำกับ การกำหนด กลยุทธและแผนงาน ในการวางแผนขั้นต่อไปด้วย การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พ.ค./2543
ตัวอย่าง การบรรจุข้อมูลสภาวะแวดล้อมในตาราง (กรณี ถูก-ผิด ;มองต่างมุม) พันธกิจ ;การปราบปรามคอรัปชั่น ภาวะแวดล้อมภายนอก ; ด้านการเมืองการบริหาร องค์ประกอบ/ตัวแปร ภาวะคุกคาม โอกาส สรุปผลกระทบ ด้าน กลไกสนับสนุน การตัดสินใจล่าช้า และสับสนในหลายกรณี รัฐบาลสนับสนุนการทำงาน โดยตั้งกรรมการช่วยงานสอบ สวน คณะกรรมการสอบสวน ของรัฐทำงานซ้ำซ้อน มีคณะทำงานเพิ่มขึ้น มีการกระจายงานสอบสวน แต่ข้อมูล และประเด็นชี้นำ การตัดสินใจแก่ กก.ปปช. สับสนและต้องมีการตรวจ สอบซ้ำ (ความสัมพันธ์ระหว่างพันธกิจและผู้ บริหารมีจุดอ่อน อะไร อย่างไร แค่ไหน) “ตัวอย่าง สภาวะแวดล้อม สำนักงาน ปปป.มีภาระกิจมากเกินกว่าพนักงานขององค์กรจะสามารถดำเนินการสะสางได้ทันปัญหาการเพิ่มขึ้นของคดีและข้อเรียกร้องด้านทุจริตประพฤติมิชอบของวงการข้าราชการ รัฐบาล ได้มีการดำเนินการช่วยเหลือโดยมีการแต่งตั้งบุคลากรจากภายนอกเป็นคณะกก. และหรือคณะทำงานพิเศษเพื่อผ่อนคลายงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสืบสวนสอบสวนที่ให้เวลามาก (สรุปผลกระทบต่อพันธกิจ) สรุปเป็นอุปสรรค “คณะทำงานภายนอกสร้างความสับสน” การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มี.ค./2545
ตัวอย่าง การบรรจุข้อมูลสภาวะแวดล้อมในตาราง(กรณีตัวแปรมีบททั้งบวกและลบ) พันธกิจ;การให้บริการฯ ภาวะแวดล้อมภายใน ; กำหนดให้ครอบคลุม สถาบันในเครือ องค์ประกอบ/ตัวแปร จุดอ่อน จุดแข็ง สรุปบทบาทหลัก บุคลากร ด้าน ระดับผู้บริหาร การตัดสินใจล่าช้า ในบางกรณี ผู้บริหารในองค์กรด้อยประสบ การณ์เพราะมีการโยกย้ายบ่อย การบริการเป็นที่พอใจของลูกค้า เพราะส่วนใหญ่ผู้บริหารมีพื้นฐาน ด้านการศึกษาและได้ผ่านการอบรม มีความคิดริเริ่มสูง และลูกค้าพอใจ มีการสั่งการล่าช้าบ้าง แต่องค์กรสามารถปรับ แนวทางการให้บริการ ใหม่ๆเพื่อสนองความ ต้องการได้ “ตัวอย่าง สภาวะแวดล้อม ; บุคลากรระดับบริหารด้านการบริการฯ ถูกเปลี่ยนแปลงบ่อยเพราะ ปัญหาการเมืองภายในองค์กร และระเบียบขององค์กรที่กำหนดช่วงเวลาการบริหารไว้เพียงไม่เกินสองปีซึ่งระยะเวลาสั้นเกินกว่าจะมีความชำนาญในงานบริการได้ อย่างไรก็ตามองค์กรสามารถสรรหาบุคคลากรที่มีการศึกษาระดับสูงและสามารถจัดการฝึกอบรมทักษะตลอดจนมีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อปรับปรุงมาตรฐานการบริการฯได้อย่างต่อเนื่อง” การประเมินผลที่ผ่านมาลูกค้ายังพอใจการบริการขององค์กรอยู่อย่างมาก (สรุปผลกระทบระดับพันธกิจ) สรุปเป็นจุดแข็ง“ผู้บริหารการศึกษาสูงมีความริเริ่มลูกค้าพอใจ” การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/พ.ค./2543
Strategic thinking Outside -in Scope Cause SWOT Effect Scan Inside -Out การวางแผนกลยุทธ์ ; อุทิศ/พ.ย../2545
SWOT Analysis “วิเคราะห์บนความเป็นจริง-ให้ใกล้ความเป็นจริงที่สุด” • คาดการณ์(แนวโน้ม)บนฐานข้อมูล-ข้อเท็จจริง ที่มีอยู่และมีความเป็นไปได้สูง ( ที่คาดว่าจะเกิดในช่วงที่จะใช้แผนฯ อาจพลาดได้แต่ในอัตราส่วนที่ต่ำ ) • หลัก-เหตุผลที่ใช้เป็นทฤษฎี-ปรากฏการณ์ที่พิสูจน์แล้ว • ไม่ใช้จินตนาการและสมมุติฐานที่ขัดแย้งกับความจริงไม่ใช้อารมณ์-ความรู้สึกส่วนตัว • เป็นการประเมิณสถานะการณ์ให้ทราบข้อเท็จจริงโดยวินิจฉัยที่ถูกต้องไม่มีอคติ ไม่มองฝ่ายเดียว(ขาดงบฯ หรือขาดแผนและไม่จัดลำดับความสำคัญ ขาดคนหรือไม่อบรมให้เพิ่มสมรรถนะ หน่วยงานเป็นเลิศเมื่อเทียบกับใครคู่แข่งหรือ? บุคคลารับผิดชอบใครตัดสิน? ) • เป็นความพยายามกำหนดประเด็นเพื่อประโยชน์การชี้นำ(มีแรงงานมากเป็นประโยชน์การกำหนดยุทธ์หรือไม่ หรือประเด็นที่เป็นประโยชน์กว่าคือแรงงานส่วนใหญ่ขาดฝีมือ) การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/สค./2544
ข้อผิดพลาดการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดการวิเคราะห์ SWOT 1 เรา-เขา ; บวก-ลบ สับสน 2 มองข้ามตัวแปรที่มีอิทธิพล 3 แปลบทบาทหลักของตัวแปรผิด 4 ขาดความครอบคลุม ลึกซึ้ง อุทิศ มีค. 45
ตรวจสอบผลการระดมสมอง SWOT • ตัวแปรที่มีอิทธิพล สำคัญและมีอิทธิผลมากพอให้เกิดผลสำเร็จ/ล้มเหลวจริงหรือไม่ • บทบาทตัวแปร เป็นบทบาทที่สำคัญที่สุด จริงหรือไม่ (ควรมีที่สำคัญเพียง1หรือ2) • กำหนดสภาวะถูกต้องหรือไม่ เป็นจุดแข็งหรือโอกาส เป็นจุดอ่อนหรือภาวะคุกคาม • เป็นจุดอ่อน หรือ จุดแข็ง เป็นโอกาส หรือภาวะคุกคาม (เขา หรือเรา//บวก หรือลบ) • จุดอ่อนขัดแย้งจุดแข็ง โอกาสขัดแย้งภาวะคุกคามหรือไม่ ภาวะใดเท็จจริงอะไรถูก • สาระสมบูรณ์หรือไม่ (ตัวแปรและบทบาท) ขยายสถานการณ์เกิน เท็จจริง เพียงไร • สาระยาวเกินไป วกวน เป็นการเล่าเรื่อง ขาดประเด็นหรือไม่ อะไรเป็นประเด็นหลัก • สาระเท็จจริงเพียงไร กลุ่มย่อยได้หารือ และ เห็นพ้องร่วมกันจริงหรือไม่ • มีสภาวะแวดล้อมครอบคลุม ลึก-ชัดพอ ยังมีประเด็นที่มีความสำคัญอื่นอีกหรือไม่ • ทุกสภาวะแวดล้อมอยู่ในขอบข่าย ที่อยู่ในขอบข่ายของพันธกิจสมมุติแค่ไหน เพียงไร
ตารางสรุปแสดงการวิเคราะห์ SWOT 1. การกำหนดกรอบชี้นำการวิเคราะห์;พันธกิจสมมุติและตัวแปร พันธกิจสมมุติ ตัวแปร;ที่สำคัญ ใคร;ทำอะไร ให้ใคร;แค่ไหน ทำ;อย่างไร ภารกิจที่ต้องทำ 3-4ปีหน้า; mission เกณท์ที่วัดได้; tangible achivement เงื่อนไขที่วัดได้ยาก; intangible condition • ภารกิจหลักที่ต้องทำ • ต้องพัฒนา • ต่อเนื่องให้ดีกว่า • ตาม กม.-หวัง • ตามประเมินฯ • ฯลฯ • มาตรฐานที่ต้องบรรลุ • ให้ดีกว่าเดิม • ตามมาตรฐานสากล • ตามที่ตกลง • ฯลฯ • กลไก-ค่านิยมที่ต้องปรับ • ให้มีประสิทธิภาพกว่า • ตามมาตรฐานสากล • ตามชี้แนะการประเมิน • ฯลฯ • ตัวแปร เขา-เรา(เฉพาะระดับ • -ขนาด)ที่มีอิทธิพลต่อความ • สำเร็จ-ล้มเหลวในการพัฒนา • ตามพันธกิจสมมุติ • ตัวอย่าง; • ระบบการจัดการเดิม คน ระบบ • ปัจจัยการลงทุน • เทคโนโลยี • ความร่วมมือจากสาธารณะ • ตัวอย่าง;ใคร ทำอะไร • ต้องพัฒนาบริการและ • ระบบปะปา • ตัวอย่าง;ให้ใคร แค่ไหน • น้ำดื่มได้และทั่วถึงทั้งเมือง • ตัวอย่าง; อย่าไร • อย่างยุติธรรมแก่ทุกชนชั้น
2. การวิเคราะห์; SWOT การกำหนด SWOT (ที่เปลี่ยนแปลงและที่ต้องเผชิญ) บทบาทตัวแปร;สำคัญ ตัวแปร;สำคัญ กำหนดSWOT • ตัวอย่าง; • พนักงานสำนักการปะปายังขาดประสบ • การณ์การจัดการ W • ระเบียบได้ปรับให้ทันสมัยสามารถแก้ไข • ปัญหาความล่าช้าโครงการ S • มีบริษัทที่ปรึกษาที่มีความสามารถ • ออกแบบโครงการที่ทันสมัย O • รัฐบาลสนับสนุนให้ท้องถิ่นเงินคู้โดย • ค้ำประกันดอกเบี้ยราคาถูก O • เทคโนโลยีที่มีอยู่ยังคงแพงและต้อง • อาศัยการดูแลอย่างครบถ่วน T • ประชาชนทุกกลุ่มมีความต้องการสูงและ • ยินยอมรับภาระค่าบริการที่ยุติธรรม O • ตัวอย่าง; • ระบบการจัดการเดิม • บุคลากรสำนักฯ • ระบบ • ปัจจัยการลงทุน • เทคโนโลยี • ความร่วมมือจากสาธารณะ • ตัวอย่าง;(เหตุการณ์สมมุติ) • ระบบการจัดการเดิม • พนักงาน ขาดประสบการณ์การจัดการ • ระบบ สามรถว่าจ้างที่ปรึกษา • ปัจจัยการลงทุน • ได้รับการสนับสนุนผ่านเงินคู้ • เทคโนโลยี • แพงและต้องอาศัยการดูแล • ความร่วมมือจากสาธารณะ • มีความต้องการสูงมาก
3. การจัดลำดับความสำคัญและการใช้SWOT ใช้ประโยชน์SWOT คะแนนและลำดับ SWOT Graded Balances Scorecard Self FP IP EP Inv Xx คาดการณ์อนาคต A กำหนดทิศทาง จากการระดมสมองอย่างมีส่วนร่วม B กำหนดยุทธศาสตร์ C
การวิเคราะห์ และจัดลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม O • 1.กำหนดเกณท์ • เกี่ยวข้องการสร้างผลสัมฤทธิ์ • (Balance score card) • กระทบอย่างรุนแรงเด่นชัด เด็จขาด • กระทบระดับแข่งขันเชิงยุทธ์ แผนฯยุทธ์ฯ เลือกรบ ไม่รบทุกด้าน W S ปรากฏการณ์ เริ่มต้น-ไม่รุนแรง 2.จัดลำดับความสำคัญ สภาวะแวดล้อม 3.ปรับลำดับความสำคัญ ให้สอดคล้องกับข้อมูล(สถิติ) T เป็นแนวคิด-ข้อคำนึงหลักสิ่งท้าทายที่องค์กรจะต้องพิจารณาในการเผชิญสภาวะแวดล้อม ช่วงแผนฯ(ทั้งทางบวกและลบ) ได้ตลอดรอดฝั่งโดยอาจเกี่ยวข้องกับ ประเด็นสถานะการณ์และปัจจัยหลักที่ต้องการ และหรือสิ่งที่จำเป็นต้องคำนึงถึงในการ ขับเคลื่อนจาก จุดที่องค์กรเป็นอยู่ไปสู่จุอที่องค์กรอยากจะบรรลุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการชี้นำจุดเริ่มการดำเนินการที่เหมาะสม การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มีนาคม/2543
ปัจจัยการวิเคราะห์ และจัดลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม • 1/ สภาวะแวดล้อมที่เกี่ยวข้องการสร้างผลสัมฤทธิ์ • ประสิทธิภาพ/ผลการใช้งบประมาณในทางการลงทุน-ปฏิบัติ • การบริหารจัดการที่ดีเพื่อความยุติธรรมและยั่งยืน • การสนองความต้องการประชาชนเพื่อการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง • การมีนวตกรรมเพื่อเสริมสมรรถนะการแข่งขัน ระวัง; -Big words -Double count การบริหารจัดการที่ดี (Internal Perspective) การสนองความต้องการประชาชน (External Perspective) ปฏิบัติ-บริหาร นวตกรรมและสมรรถนะการแข่งขัน (Innovation Perspective) ประสิทธิภาพ/ผล การทำงาน (Financial Perspective) อนาคต-ปัจจุบัน ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่กระทบลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม *Balanced Scorecard ; R. Kaplan & D. Norton 1992 การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มีนาคม/2545
ปัจจัยการวิเคราะห์ และจัดลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม • 2/เป็นสภาวะแวดล้อมที่กระทบอย่างมีเงื่อนไข • รุนแรงเด่นชัด • เป็นต้นเหตุที่สำคัญ • มีผลที่แตกหัก ชนะได้ แพ้ได้ • อย่างมีนัยยะสำคัญตามหลักการ • อย่างสอดรับกับข้อคำนึงของนโยบาย การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/มีนาคม/2545
ร่าง SWOT ก่อนจัดลำดับความสำคัญสภาวะแวดล้อม O 1. โครงสร้างองค์กรใหญ่และปฏิบัติงานซ้ำซ้อน มีความล่าช้าด้านการเงิน 2. วัฒนธรรมสถาบันนิยมทำให้ขาดความสามัคคีและเป็นอุปสรรคการประสานงาน 3. ขาดการบริหารข้อมูลที่ทันสมัย การประชาสัมพันธ์อ่อน 4. มีระบบอุปถัมภ์ ภายในองค์กร บทลงโทษไม่ชัดเจน 5. ขาดการประเมินผล และการตรวจสอบภายในที่ชัดเจน ไม่เข้มแข็ง 6. ไม่มีคู่มือในการปฏิบัติงาน 7. ขาดการสนับสนุนด้าน R&D 8. ขาดการฝึกอบรมบุคลากรอย่างต่อเนื่อง 9. การคัดเลือกและจัดสรรบุคลากรไม่เหมาะสม กระทบขวัญกำลังใจ 10. กฎระเบียบไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน การบริหารเป็นแบบสั่งการจากส่วนบน 1. ประมุขให้ความสนใจการพัฒนาแหล่งน้ำและนโยบายรัฐทุกระดับตอบสนองด้วยดี 2. ประชาชนส่วนใหญ่ตระหนักความสำคัญการพัฒนาระบบชลประทาน 3. รัฐบาลมีความเห็นชอบต่อทิศทางการพัฒนาที่องค์กรเสนอ 4. กระแสสังคม รัฐธรรมนูญและแผนฯชาติเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมแบ่งเบางาน 5. การพัฒนาทางเกษตรมีการขยายพื้นที่และต้องการระบบชลประทานเป็นปัจจัยหลักการเกษตร 6. ความก้าวหน้าทาง IT มีส่วนสนับสนุนประสิทธิภาพการบริหารทางชลประทาน 7. การปฏิรูประบบราชการเป็นโอกาสการปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร 8. รัฐบาลมีเสถียรภาพมากขึ้นทำให้มีโอกาสพัฒนาโครงการต่อเนื่อง 9. สถานการณ์ช่วยให้เกิดการกำกับระบบบริหารด้านการลงทุนพัฒนา 10. บทบาทกรมฯเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง 11. มีแผนงาน โครงการพัฒนาพื้นที่(25)ลุ่มน้ำที่กรรมการดูแล W S 1. บุคลากรมีพื้นฐานทางวิชาการในการประกอบวิชาชีพและมีความชำนาญ 2. การบริหารได้รับการสนับสนุนจากรัฐอย่างต่อเนื่อง 3. มีการบริหารอย่างกระจายอำนาจ 4. มีกฎหมายรองรับอำนาจหน้าที่ 5. มีกลไกสนับสนุนงานในทุกระดับพื้นที่ 6. องค์กรมีประสพการณ์สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 7. องค์กรมีความพร้อมด้านเครื่องจักรและเครื่องมือ 8. มีความสามัคคีและมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน 9. มีบทบาทที่สร้างสายสัมพันธ์กับประชาคมท้องถิ่นด้วยดี 1. นโยบายรัฐไม่สะท้อนความเป็นจริงในพื้นที่ 2. NGOs ต่อต้านการพัฒนาแหล่งน้ำ และสังคมขาดความเข้าใจ 3. มีการแทรกแซงทางการเมืองและอิทธิพลของท้องถิ่น 4. กฎหมายล้าสมัยไม่สอดรับความต้องการ 5. ขาดกฏหมายกำหนดสิทธิการใช้น้ำ 6. ขาดการประสานงานระหว่างกรมชลฯและท้องถิ่น ประชาชนไม่ร่วมมือ 7. มีการแสวงหาผลประโยชน์ของกลุ่มนายทุนและราษฏร 8. ขาดการพิจารณาผลกระทบด้านชลประทานที่มีต่อสุขภาพประชาชน 9. การพัฒนาพื้นที่ต้นน้ำยุ่งยากต้องขออนุมัติ ครม. 10. มีข้อจำกัดด้านงบประมาณมากขึ้น 11. การพิจารณาหน่วยงานภาครัฐด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมล่าช้า 12. ปัจจุบันยังมีปัญหาขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน 13. รัฐมีนโยบายปรับกำลังพลที่คู่กระทบการปฏิบัติการโครงการ T การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/ธ.ค./2544