330 likes | 659 Views
Learning dynamic. องค์กรแห่งการเรียนรู้ - Learning organization การคิดอย่างเป็นระบบ - System thinking. องค์กรของเรา ไร้สมรรถนะในการเรียนรู้หรือไม่ ?. ฉันอยู่ในตำแหน่งของฉัน ศัตรูอยู่ข้างนอกนั่น ภาพลวงตาของการทำหน้าที่รับผิดชอบ แก้ไขเหตุการณ์ นิทานกบต้ม
E N D
Learning dynamic องค์กรแห่งการเรียนรู้ - Learning organization การคิดอย่างเป็นระบบ - System thinking By Montchai Pinitjitsamut
องค์กรของเรา ไร้สมรรถนะในการเรียนรู้หรือไม่ ? • ฉันอยู่ในตำแหน่งของฉัน • ศัตรูอยู่ข้างนอกนั่น • ภาพลวงตาของการทำหน้าที่รับผิดชอบ • แก้ไขเหตุการณ์ • นิทานกบต้ม • ความเข้าใจผิดของการเรียนรู้จากประสบการณ์ • นิทานปรัมปราเรื่องทีมผู้บริหารองค์กร Montchai P.
องค์กรที่มีการเพิ่มศักยภาพองค์กรที่มีการเพิ่มศักยภาพ ความสามารถในการสร้างสรรค์อนาคต อย่างต่อเนื่อง องค์กรแห่งการเรียนรู้“ความหมายและคุณลักษณะ” Shift of Mind การเปลี่ยนแปลงในระดับพื้นฐานของความคิด/จิตใจ เป็นองค์กรที่มีการรับรู้ เรียนรู้ ของสมาชิก ระหว่างสมาชิก มีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างตื่นตัว(Proactive) จากภายใน Montchai P.
การคิดอย่างเป็นระบบ System Thinking การเรียนรู้ขององค์กร การเรียนรู้ของบุคคล การเรียนรู้ของทีมงาน วินัย ๕ ประการ รูปแบบของความคิด/จิตใจ Mental Model ความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคล Personal Mastery การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม Shared Vision การเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นทีม Team Learning Montchai P.
องค์กรแห่งการเรียนรู้ โมเดลของMarquardt การเรียนรู้ ระดับองค์กร โครงสร้างที่เหมาะสม การเรียนรู้ ระดับบุคคล วัฒนธรรม การเรียนรู้ วิสัยทัศน์ การเรียนรู้แบบส่วนบุคคล การเรียนรู้แบบเป็นกลุ่ม ทีมงาน และเครือข่าย การกระจาย อำนาจ บรรยากาศที่ ส่งเสริมสนับสนุน การสำรวจ ภาวะแวดล้อม การสร้าง และการถ่ายทอด องค์ความรู้ กลยุทธ์ คุณภาพ เทคโนโลยีการเรียนรู้ Montchai P. Michael Marquardt & Angus Reynolds,1992
พลวัตภายใน สร้างความรู้ ถ่ายทอดความรู้ ประมวลความรู้ ศักยภาพการเรียนรู้ Learning potential การเติบโตและกระบวนการจำกัดการเรียนรู้ Growth and limit processes Montchai P.
Awarenessandsensibilities ความตระหนักรู้ตื่นตัว และสัมผัสรู้สึกเชิงละเอียด Attitude and beliefs ทัศนคติและความเชื่อ Change Skills and capabilities ทักษะและขีดความสามารถ Actions ผลลัพธ์ การเรียนรู้ของบุคคล - สู่การปฏิบัติ แนวความคิดหลัก การสร้างสรรค์สิ่งใหม่จาก โครงสร้างพื้นฐานขององค์กร ทฤษฏี วิธีการ และเครื่องมือเชิงปฏิบัติ Montchai P.
Goals Actions Results Corrections Goals Actions Results Corrections Corrections Single Loop & Double Loop Chris Argyris Montchai P.
วินัย ๕ ประการ ของ Dr.Peter Senge Shared Vision Team Learning System Thinking Mental Model Personal Mastery Montchai P.
Mental Model รูปแบบความคิด/จิตใจ • เน้นเข้าไปดูภายในของจิตใจ เพื่อตรวจดูวิธีที่เรารับรู้ต่อโลกในปัจจุบันว่า เรามองโลกอย่างไร • เราจะนำพาอะไรเข้าไปในสมองเรา ภาพลักษณ์ สมมติฐาน และเรื่องราวต่างๆ • Mental Model เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ ? • Mental Model กำหนดปฏิกิริยาที่เราแสดงออกต่อภายนอก • พัฒนา • ทักษะการไตร่ตรอง (Reflection skill) • ทักษะการซักถาม (Inquiry skill) Montchai P.
Mental Model The Ladder of Inference Montchai P.
เห็น/ดู ฟัง/ได้ยิน ได้กลิ่น รับรส สัมผัส ตา หู จมูก ลิ้น กาย Mental model จิตใจ รูป (อารมณ์) เห็น (จักขุวิญญาณ) การรับรู้ (ผัสสะ) ตา (อายตนะ) + + = จิตนิสัยที่สะสม (สังขาร – ดี ชั่ว ไม่ดีไม่ชั่ว) การแสดงออก การกระทำ รู้สึกสุขทุกข์ (เวทนา) จำได้หมายรู้ (สัญญา) คิด (วิตักกะ) +/- Mental Model Montchai P.
Personal Mastery ความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคล • เป็นมากกว่าความสามารถ ความเชี่ยวชาญ แต่มีพื้นฐานจากทั้ง 2 ประการนี้ หากแต่มุ่งที่การแสดงออกทางจิตใจ การเข้าไปสร้างสรรค์จากสิ่งที่ดำเนินอยู่ การสร้างสรรค์ที่แสดงปรากฏออกมาให้เห็น • บุคคลที่มี Personal Mastery สูงจะเป็นคนที่มีความมุ่งมั่น ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และความรับผิดชอบค่อนข้างสูง • จะสนับสนุนให้เกิดแรงจูงใจส่วนบุคคล ในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องว่าการกระทำของเรานี้ส่งผลกระทบต่อโลกอย่างไร มิใช่ Reactive Mindset • เรียนรู้ด้วยตนเอง ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง มิใช่ต่อต้าน Montchai P.
Personal Mastery ความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคล • วิสัยทัศน์ส่วนบุคคล (Personal vision) เกิดมาจากภายใน มิใช่จากการเปรียบเทียบกับผู้อื่น • การรักษาแรงดึงที่สร้างสรรค์ Creative tension • ดึงความจริง เข้าหา วิสัยทัศน์ • ดึงวิสัยทัศน์ เข้าหา ความจริง • การฝึกฝน Personal Mastery เป็นการใช้มิติ ของจิตใต้สำนึก • จินตนาการ และภาพของจิตใต้สำนึก (Imaginary and Visualization) Montchai P.
Shared Vision การสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน • ต้องการสนับสนุนให้เกิดความมุ่งมั่นในระยะยาว (Long term Commitment) • วิสัยทัศน์ร่วมกัน มิใช่แค่เพียงความคิดหนึ่งที่ร่วมกันเท่านั้น หากแต่เป็นแรงผลักดันที่อยู่ในจิตใจของแต่ละคน อาจจะถูกจุดขึ้นจากความคิดหนึ่ง และงอกเงยต่อๆไป และได้รับการสนับสนุนจากคนอื่นๆ จนรู้สึกถึงวิสัยทัศน์ร่วมนั้นได้อย่างจริงๆ • “เราต้องการที่จะ(ร่วมกัน)สร้างสรรค์คุณค่าอะไร ?” • วิสัยทัศน์ สร้างมาตรฐานที่มีความเป็นเลิศจากภายในขององค์กรเอง และสร้างความรู้สึกร่วมกันภายในองค์กร Montchai P.
Personal vision แรงปรารถนาส่วนบุคคล Shared vision แรงปรารถนาของแต่ละคนรวมกัน แรงปรารถนาที่อยากจะทำให้บางสิ่งบางอย่างเกิดขึ้น เป็นจริง และสำเร็จผล คือคุณค่าและอนาคตที่เห็นร่วมกัน comunity of commitment สร้างวิสัยทัศน์ส่วนบุคคล (Personal vision)ของแต่ละคน ขึ้นมาก่อนเป็นลำดับแรก สะท้อน และรวบรวมขึ้นมาเป็น Shared visionและทำให้วิสัยทัศน์ “มีชีวิต” ขึ้นมาภายในองค์กร Shared Vision Montchai P.
Team Learning การเรียนรู้ร่วมกันอย่างเป็นทีม • พยายามพัฒนาทักษะ และความชำนาญของทีมงานในการมองภาพรวม ซึ่งเป็นภาพที่ใหญ่กว่า กว้างกว่าการมองจากมุมมองในระดับบุคคล • การมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (Alignment) • ทีมต้องเรียนรู้ที่จะนำเอาศักยภาพที่มีอยู่อย่างหลากหลายมาเสริมกัน เพื่อให้เกิดความสามารถที่เหนือกว่าคนๆเดียว ด้วยความคิดสร้างสรรค์ และการประสานกันในการทำงาน • การเรียนรู้ของทีม จะช่วยให้ทีมอื่นๆมีความเจริญก้าวหน้า (Cycle of learning) • การเสวนา และการหารือ(Dialogue and Discussion) Montchai P.
System Thinking การคิดอย่างเป็นระบบ(System thinking) By Montchai Pinitjitsamut
สภาวะเป็นจริงในธรรมชาติมีความสัมพันธ์เป็นวงกลม แต่เรามักเห็นเป็นเส้นตรง เพราะกรอบความคิดแบบเชิงเส้น(Linear thinking)ของเรา - ภาษาแบบเชิงเส้น เราจะเห็นเพียงการแบ่งส่วนย่อยๆ - ภาษาแบบวงกลม เราจะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างกัน จุดประสงค์เพื่อการมองเหตุการณ์ให้เห็นถึง แรงผลักดันที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ System Thinking การคิดอย่างเป็นระบบ Montchai P.
System Thinking การคิดอย่างเป็นระบบ Montchai P.
ระบบและกฎเกณฑ์ ? • ปัญหาในปัจจุบันเกิดจากการแก้ปัญหาในอดีต Today’s problem come from yesterday’s solution • แรงกดยิ่งมาก แรงต้านยิ่งเยอะ The harder you put, The harder system push back. • สิ่งต่างๆดูเหมือนจะดีในตอนต้น แต่แล้วกลับแย่ลงในตอนหลัง Behavior grows better before it grows worse. • ทางออกง่ายๆ มักจะพาเรากลับมาที่เดิม The easy way out usually lead back in. • วิธีการรักษาโรคอาจจะแย่กว่าตัวเชื้อโรคเองซะอีก The cure can be worse than disease. Montchai P.
ระบบและกฎเกณฑ์ ? (ต่อ) • ยิ่งเร่งก็อาจยิ่งช้า Faster is slower. • สาเหตุและผลลัพธ์ อาจไม่อยู่ใกล้เคียงกันในมิติของเวลา และสถานที่ Cause and effect are not closely related in time and space. • จุดเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยอาจสร้างผลลัพธ์ที่ยิ่งใหญ่ได้ แต่จุดนั้นก็หาไม่ง่ายนัก Small changes can produce big result but the areas of the highest leverage are often the least obvious. • คุณมีเค้กและสามารถกินมันได้ แต่ไม่ใช่ในครั้งเดียว You can have your cake and eat it too, but not at once. • การแบ่งช้างออกเป็นสองส่วน ใช่ว่าจะได้ช้างตัวเล็กสองตัว Dividing an elephant in haft does not produce two small elephants. • ไม่มีความผิด There is no blame. Montchai P.
เหตุการณ์ ลักษณะของเหตุการณ์ Event โครงสร้างของเหตุการณ์ Pattern Structure System Thinking การคิดอย่างเป็นระบบ Montchai P.
การเขียนผังเชิงระบบ(System Diagram/Casual loop) • กำหนด ประเด็นปัญหาหลักให้ชัดเจน (ที่เรื้อรังและเกิดซ้ำ) และสำรวจเรื่องราวเกี่ยวกับปัญหา – อาการของปัญหา และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง • ระบุ “ตัวแปรที่สำคัญ” ที่เป็นส่วนทำการขับเคลื่อนความเป็นไปของเหตุการณ์ โดยระบุชื่อให้ชัดเจนใช้คำพูดเป็นกลางหรือที่เป็นบวก • ศึกษาพฤติกรรมโดยมองย้อนเวลาถึงสิ่งที่เกิดขึ้น • เขียนกราฟแสดงพฤติกรรมเทียบกับเวลา (อย่างน้อย 2 ปี) • ทบทวนความสัมพันธ์ของตัวแปร • วาด ผังเชิงระบบ (System diagram) Montchai P.
ยอดขายสินค้า / บริการ s เวลา s R การพูดปากต่อปาก ถึง สรรพคุณสินค้า/บริการ ความพึงพอใจ หรือ ความไม่พึงพอใจของลูกค้า s เวลา กลไกการขับเคลื่อน เพื่อเติบโต หรือ ถดถอย วงจรเสริมแรง (Reinforcing loop) Montchai P.
ระดับสมดุล ของเงินสด ปัจจุบัน ระดับสมดุลของ กระแสเงินสดที่ต้องการ s เวลา s เงินสดไม่เพียงพอ หรือ เงินสดมากเกินไป “GAP” s จ่ายคืนหนี้สิน หรือกู้เงินเพิ่ม o ธรรมชาติ ระบบมีกลไกการปรับสมดุล เพื่อรักษาเสถียรภาพอยู่เสมอ วงจรปรับสมดุล (Balancing loop) B Montchai P.
ระดับอุณหภูมิของน้ำ ณ ปัจจุบัน เวลา ระดับอุณหภูมิ ที่ต้องการ s DELAY s B ช่วงห่างของอุณหภูมิ “ร้อนไป หรือ เย็นไป” “GAP” s ตำแหน่ง ปุ่มปรับอุณหภูมิ o เวลาหน่วง เป็น “เวลารอ” ที่ทำให้ ผลลัพธ์นั้นเกิดขึ้น “ช้า” ออกไป เวลาหน่วง(Delay) Montchai P.
%ค่าใช้จ่ายเทียบงบประมาณ%ค่าใช้จ่ายเทียบงบประมาณ จำนวนวิศวกร ที่ลาออก การลดงบประมาณ สำหรับงานวิศวกรรม ยอดขาย เวลา s การลาออกของ พนักงานฝ่ายธุรการ การลาออกของ วิศวกร s B ภาระงาน ของวิศวกร s o ขวัญ และกำลังใจ o กราฟพฤติกรรม และผังเชิงระบบ Montchai P.
ผลงานที่สำเร็จ ของพนักงาน o จำนวนชั่วโมงทำงาน s ระดับพลังทำงาน และความกระตือรือร้น ความคาดหวัง ของผู้บังคับบัญชา B DELAY R B s s ผลงานที่สำเร็จ ของพนักงาน เวลา s R s ระดับการสนับสนุน จากผู้บังคับบัญชา ผังเชิงระบบ (System diagram) Montchai P.
s การขยาย ไปสู่ตลาดอื่นๆ s R1 s ความต้องการของลูกค้า ในสินค้าของ ART B2 DELAY s s รายได้จาก การขาย s o คุณภาพ งานบริการ ระดับมาตรฐาน ของบริษัท s B4 กำลังการให้ บริการด้านเทคนิค s กำไร o B3 ช่องว่างใน “คุณภาพ” s s s o ต้นทุน B5 การลงทุนใน กำลังการผลิต s s s Problem of Success Montchai P.
จำนวนพนักงานใหม่ จำนวนร้าน สัดส่วนของพนักงาน ที่คุ้นเคยกับนโยบาย การบริหารแบบดั้งเดิม จำนวนลูกค้าประจำ o รายได้ จำนวน พนักงานใหม่ o เวลา ความพร้อม ของเงินลงทุน s ภาระงานของ ผู้บริหาร s s จำนวนร้านค้า ขยายใหม่ B รายได้ R o s s จำนวนลูกค้าประจำ ผลงานของ พนักงาน ปริมาณการขาย o s ความชุลมุนสับสนและ ปัญหาการรับออเดอร์ o Major ice cream Montchai P.
ต้นแบบ System Archetype เงื่อนไขที่จำกัด การเติบโต กิจกรรม ที่เติบโต R B กิจกรรม ที่ช้าลง เงื่อนไข Limits To Growth Montchai P.
คำถาม และคำแนะนำ Montchai Pinitjitsamut GP Business Consulting Co.,Ltd. Tel. 0 2733 2700 (auto) Fax. 0 2733 2332 Email : montchai@hotmail.com By Montchai Pinitjitsamut