600 likes | 1.05k Views
กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมวัตถุอันตรายทางการเกษตร. สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร. สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เป็นปัจจัยหนึ่งของการผลิต. ป้องกันความสูญเสียของผลผลิตจากการทำลายของศัตรูพืช ยับยั้งการระบาดของศัตรูพืชได้ทันท่วงที แรงงาน ขาด แคลน ค่าใช้จ่ายต่ำ
E N D
กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมวัตถุอันตรายทางการเกษตรกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมวัตถุอันตรายทางการเกษตร สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช เป็นปัจจัยหนึ่งของการผลิต • ป้องกันความสูญเสียของผลผลิตจากการทำลายของศัตรูพืช • ยับยั้งการระบาดของศัตรูพืชได้ทันท่วงที • แรงงานขาดแคลน • ค่าใช้จ่ายต่ำ • สะดวกสบาย • กำจัดศัตรูพืชได้หลายชนิด • ขาดวิธีการกำจัดที่ดีกว่า
ปัญหา • ยาปลอม • ชื่อการค้ามาก เกษตรกรสับสน • การใช้ที่ไม่ถูกต้องตามฉลาก หรือคำแนะนำ • แมลงดื้อยา • การนำเข้าเพิ่มมากขึ้นทุกปี • พิษตกค้างในผลผลิต สิ่งแวดล้อม • การโฆษณา การส่งเสริมการขาย
ปัญหาสารเคมีเกษตรผิดกฎหมายปัญหาสารเคมีเกษตรผิดกฎหมาย • เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นมาเป็นเวลาช้านานและทวีความรุนแรงขึ้น • ลักษณะความผิดปกติ คือ เป็นสารด้อยคุณภาพ ปลอมปน ปลอมแปลง หรือถูกห้ามขาย • เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างผู้ผลิตและผู้จัดจำหน่ายในท้องถิ่น • พบมากในกลุ่มสารกำจัดวัชพืชชนิดละลายน้ำ เช่น พาราควอตไกลโฟเซต และชนิดผง เช่น อาทราซีน • ใช้ราคาจำหน่ายต่ำกว่าปกติเป็นเครื่องจูงใจ รวมทั้งการแจกแถม • ประเมินขนาดธุรกิจสารเคมีผิดกฎหมายสูงถึง 2,400 ล้านบาท
การแก้ไข แก้ไขกฎหมาย และประกาศต่างๆ นโยบายลดการใช้สาร (ลดการนำเข้า ใช้สารธรรมชาติ ใช้ตัวห้ำตัวเบียน) ตรวจสอบผู้ประกอบการ (ผู้นำเข้า ผู้ผลิต ร้านค้า)
พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕และพ.ร.บ. วัตถุอันตราย (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๑
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อคุ้มครอง ป้องกันอันตรายที่เกิดกับ บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์หรือ สิ่งแวดล้อม 2. เพื่อคุ้มครองเกษตรกร 3. ควบคุมผู้ประกอบการ
คำนิยามตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตรายพ.ศ. 2535 วัตถุอันตรายแบ่งได้ 10 ชนิด ดังนี้ 1. วัตถุระเบิดได้ 2. วัตถุไวไฟ 3. วัตถุออกซิไดซ์และวัตถุเปอร์ ออกไซด์ 4. วัตถุมีพิษ
5. วัตถุที่ทำให้เกิดโรค 6. วัตถุกัมมันตรังสี 7. วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม 8. วัตถุกัดกร่อน 9. วัตถุที่ก่อให้เกิดอาการระคายเคือง 10. วัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใด ที่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ และสิ่งแวดล้อม
กระทรวงที่รับผิดชอบในการควบคุมวัตถุอันตรายกระทรวงที่รับผิดชอบในการควบคุมวัตถุอันตราย • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • กระทรวงอุตสาหกรรม • กระทรวงสาธารณสุข • กระทรวงพลังงาน • กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานในกระทรวงเกษตรฯ ที่รับผิดชอบในการควบคุมวัตถุอันตราย • กรมวิชาการเกษตร • กรมประมง • กรมปศุสัตว์
วัตถุอันตรายทางการเกษตรวัตถุอันตรายทางการเกษตร • สารกำจัดแมลง • สารกำจัดวัชพืช • สารป้องกันกำจัดโรคพืช • สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช • สารกำจัดไร • สารกำจัดหนู • สารกำจัดหอย
วัตถุอันตรายแบ่งออกเป็น 4 ชนิด
มาตรการที่ใช้ควบคุมวัตถุอันตรายทางการเกษตรมาตรการที่ใช้ควบคุมวัตถุอันตรายทางการเกษตร • กำหนดให้มีการขึ้นทะเบียนเพื่อเลือกใช้วัตถุอันตรายที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัย • กำหนดให้มีการขอนุญาตประกอบกิจการเพื่อเป็นการควบคุมการผลิต การนำเข้า การส่งออก และการมีไว้ในครอบครอง • การควบคุมหลังจากการได้รับการขึ้นทะเบียนและอนุญาตแล้วได้แก่การควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และการดำเนินคดีต่อผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย
พรบ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535 • ไม่กำหนดอายุทะเบียน • พรบ.วัตถุอันตราย (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2551 • กำหนดอายุทะเบียน 6 ปี • ให้ทะเบียนเก่าที่เคยได้ตั้งแต่ปี 2535 ใช้ต่อได้อีก 3 ปี (22 สิงหาคม 2554)
เอกสารที่ใช้ประกอบการพิจารณาขึ้นทะเบียนเอกสารที่ใช้ประกอบการพิจารณาขึ้นทะเบียน • ผลการทดลองประสิทธิภาพ ของพืชและศัตรูพืชที่จะระบุให้ใช้ในฉลาก • ผลการทดลองพิษตกค้าง เพื่อหาระยะเก็บเกี่ยวหลังการใช้ครั้งสุดท้ายตามวิธีการใช้ที่ระบุในฉลาก • ข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นพิษ (TOX) ของสารเข้มข้น และผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ต้องได้มาจากห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GLP ตามมาตรฐาน OECD • ผลวิเคราะห์
การขึ้นทะเบียนวัตถุอันตรายมี 3 ขั้นตอน • การทดลองเบื้องต้นเพื่อทราบประสิทธิภาพ ข้อมูลพิษเฉียบพลัน และพิษตกค้าง • การทดลองใช้ชั่วคราวเพื่อสาธิตการใช้ และทราบข้อมูลพิษระยะปานกลาง พิษเรื้อรัง • การประเมินผลขั้นสุดท้ายเพื่อรับขึ้นทะเบียนวัตถุอันตราย โดยการประเมินผลการทดลองและข้อมูลต่างๆ เพื่อทราบประสิทธิภาพ ความปลอดภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งพิษเรื้อรังระยะยาว 2 ปี ต่อสัตว์ทดลอง
อ่านฉลากก่อนใช้ และปฏิบัติตามคำแนะนำในฉลาก
ความสำคัญของฉลาก บอกเกี่ยวกับคุณประโยชน์และวิธีใช้ ผลกระทบจากการใช้ ช่วยลดอันตรายต่อผู้ใช้
ตามประกาศกระทรวงเกษตรฯ กำหนดให้ วัตถุอันตรายที่ขายหรือจำหน่าย ต้องมี ฉลากขนาดที่เหมาะสมกับภาชนะบรรจุ ปิดหรือพิมพ์ไว้ที่ภาชนะบรรจุ ข้อความต้องเป็นภาษาไทย
1. สารชนิดใด 2. ชื่อการค้า 3. ชื่อสารสามัญ 4. เลขทะเบียน 5. ขนาดบรรจุ 6. แถบสี
7. ประโยชน์ วิธีการใช้ 8. คำเตือน 9. การเก็บรักษา 10. การเกิดพิษ 11. การแก้พิษ 12. วันที่ผลิต 13. ผู้ผลิต จำหน่าย นำเข้า
การอนุญาตวัตถุอันตรายการอนุญาตวัตถุอันตราย เพื่อควบคุมธุรกิจและผู้ประกอบการ • การผลิต • การนำเข้า • การส่งออก • การมีไว้ในครอบครอง
ผู้ที่จะขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร จะต้องผ่านการอบรมความรู้ด้านวัตถุอันตรายจากกรมวิชาการเกษตร • ผู้ที่ผ่านการอบรมแล้วจะต้องเข้ารับการอบรม ทุกๆ 5 ปี
ใบอนุญาตมีอายุ 1 ปี ขายโดยไม่มีใบอนุญาต จำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 2 แสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข้อปฏิบัติของผู้ประกอบกิจการข้อปฏิบัติของผู้ประกอบกิจการ ไม่ผลิต นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตราย ดังต่อไปนี้ (1) วัตถุอันตรายปลอม (2) วัตถุอันตรายผิดมาตรฐาน (3) วัตถุอันตรายเสื่อมคุณภาพ (4) วัตถุอันตรายที่ต้องขึ้นทะเบียน (5) วัตถุอันตรายที่ถูกสั่งเพิกถอนทะเบียน
ข้อปฏิบัติของผู้ประกอบกิจการข้อปฏิบัติของผู้ประกอบกิจการ (6) ไม่ประกอบกิจการเกี่ยวกับวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 (7) ต้องขออนุญาตประกอบกิจการ (8) ต้องแสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผย (9) ต้องต่ออายุใบอนุญาตก่อนสิ้นอายุ
การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ภายหลังจากขึ้นทะเบียนและได้รับอนุญาตการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ภายหลังจากขึ้นทะเบียนและได้รับอนุญาต • เพื่อให้การประกอบธุรกิจวัตถุอันตรายถูกต้องตามกฎหมาย • ตรวจสอบ ควบคุมฉลาก และภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามที่ขึ้นทะเบียน • สุ่มเก็บตัวอย่างวัตถุอันตราย • เพื่อเป็นการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ • นำเข้า • โรงงานผลิต • สถานที่จำหน่าย
จำนวนผู้ประกอบการ ผู้นำเข้า 236 ราย ผู้ผลิต 90 ราย ผู้ขายส่ง 543 ราย ผู้ขายปลีก 15,822 ราย
การนำเข้าวัตถุอันตรายการนำเข้าวัตถุอันตราย
วัตถุอันตรายที่มีการนำเข้าสูงสุด (พ.ศ. 2554)
กลุ่มควบคุมวัตถุอันตรายกลุ่มควบคุมวัตถุอันตราย สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร 02 579 7988