601 likes | 1.9k Views
การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation). เกษม พิพัฒน์เสรีธรรม บริษัท 40 เค แอนด์พี จำกัด. การแบ่งส่วนตลาด ( Market Segmentation).
E N D
การแบ่งส่วนตลาด(Market Segmentation) เกษม พิพัฒน์เสรีธรรม บริษัท 40 เค แอนด์พี จำกัด
การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) การเลือกส่วนแบ่งตลาดเลือกลูกค้ากลุ่มเป้าหมายที่เราสามารถตอบสนองได้เช่นTOYOTAก็มีCAMLY VIOS SOLUNA COROLLA หรือFOUR wheel เขาก็แบ่งระดับลูกค้าโฆษณาก็เจาะกลุ่มใช้Presenter ที่แตกต่างตามกลุ่มลูกค้าแม้แต่ยาสีฟันยังต้องทำเช่นสูตรผสมสมุนไพรสูตรฟันขาวฯลฯ ทั้งนี้เพราะเราจะได้ตอบสนองให้ตรงเป้าหมายเช่นโรงพยาบาลยันฮีเน้นความสวยงามเจาะเรื่องนี้ไปเลยทำNiche Market นี่คือการแบ่งตลาดลูกค้าเครื่องมือที่ใช้แบ่งอาจใช้ อายุ เพศ รายได้ พื้นที่เกณฑ์ ภูมิศาสตร์ เช่นภาคเหนือภาคใต้ภาคอีสานเราต้องดูด้านจิตวิทยาบวกกับพฤติกรรมบริโภคเช่นเด็กรุ่นใหม่ต้องN $ M ( N แรกคือInternet พฤติกรรมคือชอบสะดวกชอบทำด้วยตัวเองค้นหาด้วยตัวเองM 8nv Me ) เอาแต่ใจไม่มีเหตุผลต้องเรียนรู้ค้นคว้าด้วยตนเองช้าไม่ได้รอนานไม่ได้นี่คือพฤติกรรมของลูกค้าวัยรุ่นที่เราต้องศึกษาไว้ใช้ประโยชน์ การแบ่งส่วนตลาด หมายถึง การจัดกลุ่มลูกค้าออกเป็นกลุ่มๆ โดยใช้คุณลักษณะร่วมอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นเครื่องมือในการจัดกลุ่ม (เช่น รายได้ อายุ วิธีการซื้อ ฯลฯ) เพื่อให้สามารถระบุได้ว่า ลูกค้าแต่ละกลุ่มต่างกันอย่างไร จะซื้ออะไร และด้วยวิธีการอย่างไร
การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) การแบ่งส่วนตลาด เป็นเรื่องที่สำคัญเพราจะช่วยให้เราสามารถวางกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าได้โดยปกติแล้วเราอาจจะไม่สามารถตอบสนองลูกค้าได้ทุกกลุ่มหรือครอบคลุมจึงต้องเจาะกลุ่มและแบ่งระดับว่าจะเป็นMass Market Segment หรือNiche Marketเช่นโรงพยาบาลยันฮีบ้านไร่กาแฟ หรือจะIndividual Market : ตลาดรายบุคคล การแบ่งส่วนตลาด สำคัญอย่างไร SMEs ไม่ใหญ่พอที่จะเข้าไปในตลาดทุกตลาดได้ การเข้าใจในเรื่องการแบ่งส่วนตลาด จะช่วยในการกำหนดกลยุทธ์ที่เหมาะสม กับตลาดที่ต้องการ
การพิจารณาการแบ่งส่วนตลาดการพิจารณาการแบ่งส่วนตลาด การแบ่งส่วนตลาด เป็นเรื่องที่สำคัญเพราจะช่วยให้เราสามารถวางกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าได้โดยปกติแล้วเราอาจจะไม่สามารถตอบสนองลูกค้าได้ทุกกลุ่มหรือครอบคลุมจึงต้องเจาะกลุ่มและแบ่งระดับว่าจะเป็นMass Market Segment หรือNiche Marketเช่นโรงพยาบาลยันฮีบ้านไร่กาแฟ หรือจะIndividual Market : ตลาดรายบุคคล ระดับการแบ่งส่วนตลาด 1.1 Mass Market 1.2 Segment Market 1.3 Niche Market 1.4 Individual Market
ตัวแปรที่อาจใช้ในการแบ่งส่วนตลาด (ตลาดอุปโภค บริโภค) การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
ปัจจัยที่ใช้ในการแบ่งส่วนตลาด (ตลาดธุรกิจ) ลักษณะการซื้อ ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ลักษณะในการดำเนินงาน • ประเภทของอุตสาหกรรม • ขนาดของกิจการ • สานที่ตั้ง • ลักษณะของการประกอบการ • ระดับเทคโนโลยีของลูกค้า • ระดับการใช้ • ต้องการ / ไม่ต้องการ • สไตล์ของผู้บริหาร • ความสัมพันธ์ระยะสั้น • / ระยะยาว • ลักษณะขั้นตอนการ • จัดซื้อ • เกณฑ์ที่ใช้ในการจัดซื้อ การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) ลักษณะทางสถานการณ์ ลักษณะส่วนบุคคล • ความรีบด่วนที่ลูกค้าต้องการ • ประโยชน์ที่ต้องการ • ขนาดของคำสั่งซื้อ • วัฒนธรรม และค่านิยมที่สอดคล้องกับบริษัท • กล้าเสี่ยง / ไม่กล้าเสี่ยง • ความภักดีต่อสินค้า เราจะต้องเรียนรู้ลักษณะของลูกค้า ศึกษาพฤติกรรมของลูกค้าอ่านลูกค้าให้ออก ใช้จิตวิทยาช่วยสนองความต้องการของลูกค้าตามส่วนแบ่งทางการตลาด เช่น ลักษณะสถานที่ทำงานของลูกค้าระดับการใช้ Technologyของลูกค้าสไตล์ของผู้บริหารลักษณะขั้นตอนและเกณฑ์การจัดซื้อสินค้าขนาดของกำลังซื้อความต้องการที่เร่งด่วนค่านิยมความจงรักภักดีของลูกค้าเหล่านี้จะทำให้เรากำหนดส่วนตลาดได้
แหล่งข้อมูลที่ใช้การแบ่งส่วนตลาดแหล่งข้อมูลที่ใช้การแบ่งส่วนตลาด การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) • สำนักงานสถิติแห่งชาติ • กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ • มหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาต่างๆ • องค์กร / สมาคมการค้า หอการค้า • ธนาคารพาณิชย์ • ธนาคารแห่งประเทศไทย
ส่วนตลาดที่ดี • วัด และระบุออกมาได้ชัดเจน • มีคุณลักษณะร่วมกัน หรือเหมือนกัน • สามารถเข้าถึงได้ ด้วยเครื่องมือทางการค้า • มีกำลังซื้อ • เป็นส่วนตลาดที่เรามีความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการแบ่งส่วนตลาดมาจากสำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงทบวง กรม ต่างๆสถาบันการศึกษาธนาคารเป็นต้นส่วนตลาดที่ดีต้อกงมีกำลังซื้อสามารถเข้าถึงได้ และเป็นส่วนตลาดที่เราได้เปรียบเหนือคู่แข่งขัน ความได้เปรียบมาได้อย่างไรเราต้องทำBenchmarking หาคู่เปรียบหรือตัวเองกับผลงานที่ผ่านมา
การแบ่งส่วนตลาด เป็นพื้นฐานที่นำไปสู่การเลือกตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งทางการตลาด การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 การแบ่งส่วนตลาด การเลือกตลาดเป้าหมาย การวางตำแหน่งตลาด ใครอาจเป็นลูกค้าได้บ้าง ลูกค้ากลุ่มไหนที่เราเลือก ลูกค้าเลือกผลิตภัณฑ์ ของเราเพราะเหตุใด
ตลาดเป้าหมายที่เหลือ ควรเป็นตลาดเป้าหมายที่น่าสนใจ และกิจการมีความได้เปรียบ ที่จะเข้าไปแข่งขันในตลาดนั้น การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) ความน่าสนใจของตลาด สูง ต่ำ สูง ต่ำ ความได้เปรียบในการแข่งขัน ขนาดความเติบโต ศักยภาพ ความสามารถในการทำกำไร ความมีเสถียรภาพ ต้นทุนต่ำ ประสิทธิภาพสูง การแบ่งส่วนตลาดเป็นพื้นฐานของการเลือกเป้าหมาย และวางตำแหน่งทางการตลาดตลาดเป้าหมายควรเป็นตลาดที่เราได้เปรียบและน่าสนใจวิธีการเลือกตลาดเป้าหมายต้องดูระดับความได้เปรียบและความน่าสนใจเช่น -ความได้เปรียบต่ำความน่าสนใจต่ำไม่ต้องทำCRM -ความได้เปรียบต่ำความน่าสนใจสูงว่างๆค่อยทำCRM -ความได้เปรียบสูงความน่าสนใจต่ำก็ยังไม่น่าทำCRM -ความได้เปรียบสูงความน่าสนใจสูงต้องทุ่มCRMเป็นอันดับแรก
ความน่าสนใจของตลาด ความได้เปรียบในการแข่งขัน การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation) • ขนาดของตลาดโดยรวม • อัตราการเติบโตของตลาด • ความสามารถในการทำกำไร • ความสอดคล้องกับกลุ่มลูกค้าเดิม • ความเข้มข้นของการแข่งขัน • สอดคล้องกับความสามารถของ SMEs • กระบวนการผลิต • โครงสร้างองค์กร • เงินทุน • วัฒนธรรม / ประสบการณ์ • ความเข้มแข็งของคู่แข่ง • การตอบโต้จากคู่แข่ง เปรียบเทียบกับส่วนตลาดอื่นๆ เปรียบเทียบกับคู่แข่ง
คือ การตัดสินใจ หรือการกระทำใดๆ ที่จะสร้างภาพลักษณ์ในใจของลูกค้า (ประโยชน์ที่ลูกค้าต้องการ) ที่จะมีต่อสินค้า เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง ปัจจัยสำคัญในการวางตำแหน่งทางการตลาด • ลูกค้าคือใคร • ความต้องการของลูกค้า • สินค้าของเรา • สินค้าของเราตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่างไร • คู่แข่งหลัก • คุณลักษณะเด่นของสินค้า การวางตำแหน่งทางการตลาด(Market Positioning) เมื่อนึกถึงกรมอนามัย คิดถึงอะไร ต้องสร้างภาพของกรมให้เป็นเอกลักษณ์ เอกภาพ ความได้เปรียบทางการแข่งขันต้องทำBenchmarking กระบวนการผลิตโครงสร้างองค์กรความเข็มแข็งการตอบโต้ของคู่แข่งเงินทุนวัฒนธรรมและประสบการณ์ส่วนความน่าสนใจก็ต้องเปรียบเทียบกับส่วนตลาดเช่นขนาดของตลาดโดยรวมอัตราการเติบโตของตลาด PCT ตอนนี้กำลังลดลงความสามารถในการทำกำไรความสอดคล้องของลูกค้าเก่าและความเข้มข้นของการแข่งขันเมื่อกำหนดส่วนตลาดได้แล้วจึงวางตำแหน่งทางการตลาดการวางตำแหน่งทางการตลาดก็คือภาพของเราในใจลูกค้าเช่นพูดถึงกรมอนามัยลูกค้านึกถึงอะไรเราต้องสร้างภาพของกรมให้มีเอกลักษณ์มีเอกภาพลูกค้าจึงจะนึกออกจะสร้างภาพได้ก็ด้วยการใช้เครื่องมือทางการตลาดสร้างภาพให้โดนใจลูกค้า
ต้องเข้าใจว่า ลูกค้าเป้าหมายให้ความสำคัญกับ เรื่องใดในการเลือกสินค้า • ต้องสร้างสินค้า และภาพพจน์ให้ลูกค้าเป้าหมาย เห็นความแตกต่างที่ชัดเจน • ใช้เครื่องมือทางการตลาดเน้นย้ำภาพพจน์ ที่สร้างขึ้น หลักในการวางตำแหน่งทางการตลาด
การสร้างความแตกต่าง คือ พื้นฐานการวางตำแหน่งทางการตลาด โดยใช้ปัจจัยต่อไปนี้ แตกต่างด้วยผลิตภัณฑ์ แตกต่างด้วยผลิตภัณฑ์ แตกต่างด้วยผลิตภัณฑ์ แตกต่างด้วยผลิตภัณฑ์ • ความรู้ • มารยาท • ความน่าเชื่อถือ • ความคงเส้นคงวา • ความรับผิดชอบ • ความเข้าใจ • ฯลฯ • ความครอบคลุม • ความรู้ / ความชำนาญ ฯลฯ • การจัดส่ง • การติดตั้ง • การบริการหลังการขาย • การรับประกัน • การอบรมลูกค้า • รูปลักษณ์ของสินค้า • ประสิทธิภาพ • คุณภาพ • ความทนทาน • ความเชื่อถือได้ • ง่ายในการซ่อมแซม การวางตำแหน่งทางการตลาด (Market Positioning) ตัวอย่าง : ยาสีฟัน ตัวอย่าง : รร.สอนภาษา ตัวอย่าง : บริษัทที่ปรึกษา ตัวอย่าง : เครื่องสำอาง ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ ร้านเสริมสวย บริษัทที่ปรึกษา ต้องสร้างภาพและสร้างสินค้าให้ลูกค้าเห็นความแตกต่างอย่างชัดเจนต้องเข้าใจว่าลูกค้าให้ความสำคัญเรื่องใดและใช้เครื่องมือทางการตลาดตอกย้ำภาพพจน์ที่สร้างขึ้นการสร้างความแตกต่างมีหลายปัจจัยเช่นแตกต่างด้วยคุณภาพของสินค้าและบริการแตกต่างด้วยพนักงานที่ให้บริการด้วยความสามารถของพนักงานเป็นต้น“กรมอนามัยจะสร้างความแตกต่างได้อย่างไร” • หนังสือแนะนำ: ของอาจารย์เกษม1.เพื่อธุรกิจ SMES กลยุทธ์การล้มช้างกระแสลมปากปากต่อปาก • 2.OTOP นักสู้ชาวบ้านนักการตลาดชุมชน