480 likes | 1.29k Views
1893. ประวัติศาสตร์อยุธยา. การสถาปนาอาณาจักร. พิธีบรมราชาภิเษก - พระเจ้าอู่ทอง. การรวมแคว้นสุพรรณภูมิ - ลพบุรี (แต่งงาน). การย้ายเมือง (เวียงเหล็ก - อโยธยา). ลักษณะทางภูมิศาสตร์. น.เจ้าพระยา. น.ลพบุรี. น.ป่าสัก. วัง - เวียงเหล็ก.
E N D
1893 ประวัติศาสตร์อยุธยา
การสถาปนาอาณาจักร พิธีบรมราชาภิเษก - พระเจ้าอู่ทอง การรวมแคว้นสุพรรณภูมิ - ลพบุรี (แต่งงาน) การย้ายเมือง (เวียงเหล็ก - อโยธยา)
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ น.เจ้าพระยา น.ลพบุรี น.ป่าสัก
วัง - เวียงเหล็ก บริเวณวัดพุทไธสวรรค์ที่แห่งนี้ ถือเป็นชุมชนดั้งเดิมที่มีหลักฐานของการตั้งถิ่นฐานของชุมชนและเป็นสถานที่ที่พระเจ้าอู่ทองใช้สร้างพระราชวังเป็นที่ประทับถึง 3 ปีก่อนที่จะมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยาและย้ายไปประทับที่หนองโสน โดยชื่อเดิมของชุมชมแห่งนี้ คือ เวียงเหล็ก
พระราเมศวร1912-1913 (ครั้งที่ 1) พระเจ้าอู่ทอง1893-1912 (19 ปี) บิดา-โอรส “พระราเมศวร” ยกทัพไปตีกัมพูชา !!!
พระบรมราชาที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว)1913-1931 (18 ปี) พระราเมศวร1931-1938 (ครั้งที่ 2) พระเจ้าทองลัน อา-หลาน พระราเมศวร
เมื่อไม่มีการชิงอำนาจระหว่างอู่ทอง-สุพรรณภูมิ ?ความเป็นอาณาจักรมากกว่าแว่นแคว้น พระรามราชาธิราช1938-1952 (15 ปี) สมเด็จพระอินทราชา (เจ้านครอินทร์) 1952-1967 (16 ปี) เจ้าอ้าย – สุพรรณบุรี เจ้ายี่ – สรรค์บุรี เจ้าสาม – ชัยนาท
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) 1967-1991 (24 ปี) ยกกองทัพไปตีเมืองพระนครหลวง (นครธม) เป็นครั้งที่ 3 *ทำให้อาณาจักรขอมต้องย้ายเมืองไปพนมเปญ โอรสของพระเจ้าสามพระยากับเจ้าหญิงเมืองสุโขทัย ในวัย 7 พรรษา ครองตำแหน่ง พระราเมศวรเจ้าเมืองชัยนาท
ภาพนี้มาจากกรุวัดราชบูรณะ ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณท์เจ้าสามพระยา การชนะสงครามของอยุธยาต่ออาณาจักรขอมในครั้งนั้น ทำให้อยุธยาได้ ทั้ง “พระยาแก้ว พระยาไทย และครัวกับทั้งรูปพระโค รูปพระสิงสัตว์ทั้งปวงมาด้วย” – ขุนนางเขมร ประชาชน ทรัพย์สมบัติ อิทธิพลด้านความเชื่อ การปกครอง ประเพณี ศิลปะ เทวราชา ราชาศัพท์ ฯลฯ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ1991-2031 (40 ปี) • พระราเมศวร เจ้าเมืองชัยนาท(คือ ส่วนหนึ่งของเมืองพิษณุโลกปัจจุบัน) 2006-2031 ย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่พิษณุโลก ? 2008 ผนวชเป็นเวลา 8 เดือน (วัดจุฬามณี)
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ • ครองราชสมบัติยาวนานที่สุด • รวมอาณาจักรสุโขทัยกับอยุธยา • ทรงปฏิรูปการปกครอง • ตั้งระบบศักดินา ย้ายเมืองหลวงหรือมีสองเมืองหลวง; แผ่นดินเหนือใต้ พระบรมราชาธิราชที่ 3(กษัตริย์อยุธยาสมัยพระบรมไตรโลกนาถที่พิษณุโลก)
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ลิลิตยวนพ่าย: ประวัติศาสตร์อยุธยาในวรรณคดี • ครองราชสมบัติยาวนานที่สุด • รวมอาณาจักรสุโขทัยกับอยุธยา • ทรงปฏิรูปการปกครอง • ตั้งระบบศักดินา-ไพร่-ทาส แบ่งตามหน้าที่ / พื้นที่ ? อัครมหาเสนาบดี สมุหนายก สมุหกลาโหม จตุสดมภ์ เวียง วัง คลัง นา เสนาบดี
ลิลิตยวนพ่าย: ประวัติศาสตร์อยุธยาในวรรณคดี - ต้นฉบับตัวเขียนจ่าหน้าว่า “โคลงยอพระเกียรติพระเจ้าช้างเผือก” - เพื่อสรรเสริญสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถที่ทรงทำสงครามชนะพระเจ้าติโลกราชของเชียงใหม่ - ไม่ปรากฏว่าแต่งเมื่อใดและใครเป็นผู้แต่งอย่างชัดเจน • (1) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพเชื่อว่าน่าจะแต่งในรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ ซึ่งเป็นพระราชโอรสสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ • (2) พ.ณ. ประมวญมารคเห็นว่าน่าจะแต่งในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ระหว่าง พ.ศ.๒๐๑๗ - ๒๐๒๕ เพราะกล่าวถึงศึกเมืองเชียงชื่นใน พ.ศ.๒๐๑๗ และควรแต่งก่อนการแปลแต่งมหาชาติคำหลวงใน พ.ศ.๒๐๒๕ เพราะในยวนพ่ายกวีได้สรรเสริญพระคุณสมบัติทางวรรณคดีไว้มากแต่ไม่ได้เอ่ยถึงมหาชาติคำหลวง • (3) ส่วนฉันทิชย์ กระแสสินธุ์เห็นว่าเรื่องยวนพ่ายไทยได้ชัยชนะเหนือโยนก ตามประวัติศาสตร์ระบุว่าใน พ.ศ.๒๐๕๘ พระเมืองแก้วถวายดอกไม้เงินทองแด่พระเจ้าแผ่นดินอยุธยา ยวนพ่ายจึงน่าจะแต่งในระยะนี้คือรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ลิลิตยวนพ่าย: ประวัติศาสตร์อยุธยาในวรรณคดี • ครองราชสมบัติยาวนานที่สุด • รวมอาณาจักรสุโขทัยกับอยุธยา • ทรงปฏิรูปการปกครอง • ตั้งระบบศักดินา-ไพร่-ทาส แบ่งตามหน้าที่ / พื้นที่ ? อัครมหาเสนาบดี สมุหนายก สมุหกลาโหม จตุสดมภ์ เวียง วัง คลัง นา เสนาบดี
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ No.8 สองเมืองหลวง; แผ่นดินเหนือใต้ แผ่นดินใต้ - อยุธยา แผ่นดินเหนือ - พิษณุโลก พระบรมราชาธิราชที่ 3No.9(กษัตริย์อยุธยาสมัยพระบรมไตรโลกนาถที่พิษณุโลก) สมเด็จหน่อพุทธางกูร No.11 รามาธิบดีที่สอง No.10 พระรัษฎาธิราช No.12 พระชัยราชาธิราช No.13
รามาธิบดีที่สอง No.10 (38) 2034-2072 พระชัยราชาธิราช No.13 แผ่นดินเหนือ - พิษณุโลก แผ่นดินใต้ - อยุธยา พระรัษฎาธิราช No.12 (5เดือน) พระบรมราชาธิราชที่ 3No.9 (3 ปี) สมเด็จหน่อพุทธางกูร No.11 (4ปี) 2054 อะฟองซู ดือ อัลบูแกร์ก ผู้ว่าการโปรตุเกสประจำเอเชีย เข้ามาในเอเชียเพื่อขยายอำนาจโปรตุเกสและสามารถยึดเมืองสำคัญชายฝังทะเล
พระชัยราชาธิราช No.13 2077-2089 + แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์สนมเอก (อู่ทอง?) + ขุนวรวงศาธิราช (ขุนชินราช)No.15 ? (45 วัน) ขุนพิเรนทรเทพ (พระมหาธรรมราชา)พระยาพิชัย พระยาสวรรคโลก(โปรดสังเกตชื่อทั้งหมดเป็นขุนนางหัวเมืองเหนือทั้งสิ้น) ศึกเชียงกราน สงครามแรกกับพม่า เรื่องหัวเมืองมอญ - ใช้ทหารอาสาโปรตุเกส - หมู่บ้านโปรตุเกส พระยอดฟ้า (แก้วฟ้า) No.14 2089-2091
พระเทียรราชา - สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ No.15 2091-2111 (พระเจ้าช้างเผือก) + พระศรีสุริโยทัย 2092 สงครามคราวเสียพระสุริโยทัย2106 แพ้ “สงครามช้างเผือก” เสียอุปราช!(ทำให้ต้องส่งพระนเรศวรเป็นองค์ประกัน) 2110 แพ้สงครามทำให้สมเด็จพระมหาจักรพรรดิสละราชสมบัติ ชนช้างกับพระเจ้าแปร / สิ้นชีวิตบนคอช้างวัดสวนหลวงสบสวรรค์
พระมหินทราธิราช (โอรสองค์ที่สอง) No.16 2111-2112 (1 ปี) กรุงศรีอยุธยาเสียกรุงครั้งที่ 1 สงครามในปี 2112 สิ้นสุดลง ผล คือ อยุธยาพ่ายแพ้ต่อกองทัพพม่า และต้องตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าเป็นเวลา 15 ปี โดยพม่าได้ปูนบำเหน็จแก่พระมหาธรรมราชา โดยการตั้งแต่ให้ดำรงตำแหน่งกษัตริย์อยุธยา ในพระนาม พระมหาธรรมราชาธิราช และประชาชนส่วนใหญ่พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ ถูกกวาดต้อนไปยังเมืองพม่า โดยเหลือให้รักษาเมืองเพียง 1,000 คนเท่านั้น (อ่านเพิ่มเติมได้ใน k0k0yadi.com)
พระมหาธรรมราชา (ราชวงศ์สุโขทัย) No.17 2112-2133 (21 ปี) พระสุพรรณกัลยา | พระนเรศวร | พระเอกาทศรถ 2112เสียกรุง / ขึ้นครองราชย์ / เริ่มราชวงศ์ใหม่ 2114พระนเรศวรออกจากพม่า (หนี?) 2119นักแผนที่ชาวโปรตุเกส ฟืร์เนา วาช ดูราโด (FernãoVazDourado)โปรดสังเกตรูปภาพในสไลด์ต่อไป ว่าในความเข้าใจของชาวยุโรปที่วาดแผนที่ ไม่มีอยุธยา 2124 นันทบุเรงสวรรคต | ขบถไพร่ญาณพิเชียร 2127ประกาศเอกราชจากพม่า * ข้อสังเกตสำคัญ - บทบาทของพระนเรศวรส่วนใหญ่เกิดขึ้นในสมัยพระมหาธรรมราชา
พระนเรศวร No.18 2133-2148 (15 ปี) 2133ขึ้นครองราชย์ 2135สงครามยุทธหัตถี * ข้อสังเกตไม่มีสงครามระหว่างสยาม-พม่า จนถึงช่วงเสียกรุงครั้งที่ 2 2136พระนเรศวรใช้ทหารอาสา “ญี่ปุ่น” 500นาย 2148 สวรรคตที่รัฐฉาน
พระเอกาทศรถ No.19 2148-2153 (5 ปี) 2148ขึ้นครองราชย์ (45) จากตำแหน่งวังหน้า-วังหน้า ตั้งแต่สมัยพระมหาธรรมราชา พระราชอำนาจเป็นผลจากสงครามในสมัยพระนเรศวร กษัตริย์พระองค์แรกที่ส่งทูตไปที่กรุงเฮก ฮอลันดา ผลคือ มีสถานีการค้าของฮอลันดา ในอยุธยา ให้ใบอนุญาตญี่ปุ่น “ใบเบิกร่องตราแดง”
พระเอกาทศรถ + มเหสี + สนม เจ้าฟ้าสุทัศน์ (สวรรคตไปก่อนจากการถูกอาญาข้อหากบฏ) พระศรีเสาวภาคย์ No.20 2153-2154 (1 ปี) พระเจ้าทรงธรรม No.21 2154-2171 (18 ปี) ไม่มีสงคราม – การค้าการต่างประเทศเพิ่มความสำคัญมากขึ้น ปัญหาเรื่องการสืบราชสมบัติ ด้านศาสนา และ วรรณกรรมEx: พระพุทธบาทมหาชาติคำหลวง ออกญาเสนาภิมุข ยามาดะ นางามาซะหัวหน้าชุมชนญี่ปุ่น 1000-1500 คน (กองอาสาญี่ปุ่น 800 นาย) * ปัญหาการชิงราชบัลลังก์
พระเจ้าทรงธรรม(สวรรคต 2171) เป็นลูกพี่ลูกน้องกับพระเจ้าทรงธรรมและเริ่มรับราชการในสมัยพระเอกาทศรถ พระอนุชา พระโอรส พระศรีศิลป์ | พระยามหาเสนา + ยามาดะ พระเชษฐาธิราช (14) No.22| เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ * พระอาทิตยวงศ์ (10) No.23 | เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์
พระเจ้าปราสาททอง (ราชวงศ์ปราสาททอง) No.24 2172-2199 (25 ปี) ลดอิทธิพลขุนนาง วัดไชยวัฒนาราม ศิลปะแบบขอม ฟาน ฟลิต (วัน วลิต) มีความสัมพันธ์ที่ดีกับฮอลันดา
พระเจ้าปราสาททองNo.24 พระโอรส พระอนุชา พระโอรส เจ้าฟ้าชัย No.25 (5 วัน) พระศรีสุธรรมราชา No.26 (2 เดือน) พระนารายณ์ No.27 2199-2231 (32 ปี) ลดอิทธิพลขุนนาง ฟอลคอน | ออกญาวิไชยเยนทร์ พระราชวังที่ลพบุรี ลา ลูแบร์ | ตา ชารด์ | โกษาปาน มีความสัมพันธ์ที่ดีกับฝรั่งเศส วิทยาการ การดูดาว
พระเพทราชา(ราชวงศ์บ้านพลูหลวง)พระเพทราชา(ราชวงศ์บ้านพลูหลวง) No.28 2231-2246 (14 ปี) เจ้ากรมช้าง กษัตริย์ชาตินิยม ? ขับไล่อิทธิผลฝรั่งเศส เป็นมิตรกับฮอลันดา กบฏธรรมเถียร | โดยเจ้าฟ้าอภัยทศ (อนุชาพระนารายณ์) กบฏบุญกว้างที่นครราชสีมา
ดุร้ายพันท้ายนรสิงห์ การขุดคลองมหาชัยเชื่อม น.เจ้าพระยา-ท่าจีน พระเจ้าเสือ No.29 2246-2251 (6 ปี) ปัญหาการสืบราชสมบัติ หลวงสรศักดิ์ - บุญของพระนารายณ์ | พระเพทราชา ? ***เจ้าพระขวัญ – โอรสของพระเพทราชา กับ น้องสาวพระนารายณ์ (ถูกลอบสังหาร) พระตรัสน้อย – โอรสของพระเพทราชา กับ ลูกสาวพระนารายณ์ (หนีไปบวช) เจ้าพระพิไชยสุรินทร์ – หลานพระเพทราชา เป็นผู้สืบราชสมบัติ (...)
พระเจ้าเสือ พระเจ้าท้ายสระ No.30 2251-2275 (23 ปี) พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ No.31 2275-2301 (26 ปี) ไม่มีปัญหาการสืบราชสมบัติ - ชอบเลี้ยงปลา | โปรดปลาตะเพียนออกกม.ห้ามกินปลาตะเพียน - ค้าข้าวรุ่งเรืองมากเพราะอาณานิคมเน้นปลูก ชา กาแฟ ฝ้าย - รุ่งเรืองด้านศาสนา - เจ้าฟ้ากุ้ง
พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระเจ้าอุทุมพร No.32 2301 (2 เดือน) พระเจ้าเอกทัศน์ No.33 2301-2310 (9 ปี) น้อง พี่ ปัญหาการสืบราชสมบัติ - ขุนหลวงหาวัด อยุธยาแพ้สงครามกับพม่า ครั้งที่ 2