150 likes | 438 Views
การปรับปรุงพันธุ์ลักษณะโครงร่าง Dairy Cattle Judging from Type Traits. ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. โคนมที่มีโครงร่างที่ดียิ่มส่งผลต่อการได้มาซึ่งผลผลิตที่ดี
E N D
การปรับปรุงพันธุ์ลักษณะโครงร่างDairy Cattle Judging from Type Traits ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โคนมที่มีโครงร่างที่ดียิ่มส่งผลต่อการได้มาซึ่งผลผลิตที่ดีโคนมที่มีโครงร่างที่ดียิ่มส่งผลต่อการได้มาซึ่งผลผลิตที่ดี • การประเมินลักษณะโครงร่างโดยทั่วไปมีด้วยกัน 2 แบบ ได้แก่ ระบบการประเมินในรูปคะแนน 50 (score 50) และระบบการประเมินในรูปคะแนน 9 (score 9) สาเหตุที่ใช้ระบบการประเมินในรูปคะแนนเนื่องจาก การวัดข้อมูลลักษณะโครงร่างของโคนมโดยตรงนั้นทำได้ยาก แม้ว่าค่าที่ได้จากการวิเคราะห์จะมีความแม่นยำมากกว่าการแปลงในรูปคะแนนก็ตาม
ลักษณะโครงร่างที่ใช้ในการตัดสินลักษณะโครงร่างที่ใช้ในการตัดสิน Approved Standard Traits • 1. Stature • 2. Chest Width • 3. Body Depth • 4. Angularity • 5. Rump Angle • 6. Rump Width • 7. Rear Legs Set • 8. Rear Legs Rear View • 9. Foot Angle • 10. Fore Udder Attachment • 11. Rear Udder Height Approved Standard Traits • 12. Central Ligament • 13. Udder Depth • 14. Front Teat Placement • 15. Teat Length • 16. Rear Teat Placement • 17. Locomotion • 18. Body condition score • 19. Hock development • 20. Bone structure • 21. Rear udder width • 22. Teat thickness • 23. Muscularity
ความสูง (stature; ST) วัดจากบริเวณสันหลังตำแหน่งตรงกับ กระดูกสะโพก (hip bone) ลงไปหาพื้นในแนวตั้งฉาก
ความลึกลำตัว (body depth; BD) วัดจากพื้นท้องตรง ตำแหน่งซี่โครงซี่สุดท้ายขึ้นไปหาสันหลัง
มุมสะโพก (rump angle; RA) วัดจากตำแหน่ง hip bone ไปหา pin bone แล้วพิจารณาตำแหน่ง pin bone ว่าสูงหรือต่ำกว่า hip bone หากต่ำกว่าจะมีค่าเป็น บวก และสูงกว่าจะมีค่าเป็นลบตามที่วัดได้
ความกว้างสะโพก (rump width; RW) วัดจากตำแหน่ง กระดูกก้นกบ (pins bone) ทั้งสองข้าง
การวางตัวของขาหลังด้านข้าง (rear legs set; RLS) วัด จากมุมองศาความโค้งงอของขาหลัง (hock joint)
มุมกีบ (foot angle; FA) วัดจากกีบเท้าของขาหลังโค โดย จัดท่าทางการยืนของโคให้เป็นปกติโดยขาหลังทั้งสองข้างต้องอยู่ใน ระนาบเดียวกันและไม่แบะไปด้านใดด้านหนึ่งทำเช่นเดียวกันกับโคน ทุกตัว
ความยาวหัวนม (teat length; TL) วัดจากฐานเต้านมไป จนถึงปลายหัวนม
ความลึกของเต้านม (udder depth; UD) วัดจากจุดที่ต่ำ ที่สุดของฐานเต้านมไปถึงบริเวณข้อขา (hock joint) หากพื้น เต้านมสูงกว่าข้อขาจะมีค่าเป็นบวก แต่ถ้าต่ำกว่าข้อขาจะมีค่าเป็นลบ
ความสูงของเต้านมด้านหลัง (rear udder height; RUH) วัดจากปลายอวัยวะเพศ (vulva) ไปถึงฐานเต้านม
ความกว้างของเต้านมด้านหลัง (rear udder width; RUW) วัดจากระยะห่างระหว่างฐานเต้านมของขาหลังทั้งสองข้าง