490 likes | 742 Views
การทำเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม. การทำเหมืองต้องทำไปควบคู่. กับการรักษาสิ่งแวดล้อม. สมหวัง วิทยาปัญญานนท์. ส่วนเหมือง. บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำกัด. มิถุนายน 2546. การทำเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม. 1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม 2. การสำรวจแหล่งหินแบบรักษ์ธรรมชาติ
E N D
การทำเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อมการทำเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม การทำเหมืองต้องทำไปควบคู่ กับการรักษาสิ่งแวดล้อม สมหวัง วิทยาปัญญานนท์ ส่วนเหมือง บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำกัด มิถุนายน 2546
การทำเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อมการทำเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม 1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม 2. การสำรวจแหล่งหินแบบรักษ์ธรรมชาติ 3. การพัฒนาหน้าเหมืองอย่างนักอนุรักษ์ 4. การระเบิดที่ไม่เบียดเบียนใคร 5. การตักขนที่สบายใจไร้กังวล 6. การย่อยและโปรยกองที่ลดผลกระทบ 7. การซ่อมบำรุงรักษาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 8. การฟื้นฟูที่ดินขณะทำเหมือง 9. สิ่งอำนวยประโยชน์ที่ไม่ควรลืม
ปูนท่าหลวง เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม 1.1 ขอเต็มเขาเพื่อลด ผลกระทบจากการระเบิด 1.2 ดูภูมิประเทศรอบข้างประกอบการออกแบบ หมู่บ้าน มุมมอง ช่องเขา ถนน
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) NE 1.3 ดูทิศทางลม หน้าหนาว หน้าแล้ง 1.4 ทางเข้าเหมือง และสำนักงานแยกกัน - ทางเข้า สำนักงาน สะอาด เป็นเส้นทางชมเหมือง - ทางเข้าสกปรกสำหรับ ขนส่งวัตถุดิบ กำแพงต้นไม้ ถนนหลวง โรงโม่ สำนักงาน ถนนหลวง
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) 1.5 ทำถนนเป็นหลังเต่าจนถึงคูยิ่งวิ่งยิ่งสะอาด หลีกเลี่ยงการออกแบบ ถนนเป็นร่องระบายน้ำ 1.6 หาแหล่งน้ำสำหรับการดับฝุ่นถูกที่สุดในการดับฝุ่นก็คือน้ำ
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) 1.7 มีการ Bypass น้ำจากเขาเป็นระยะ ก่อนลงบ่อดักตะกอน 1.8 โรงแต่ง / โรงย่อย ตั้งไว้ไหนดี - ทิศทางลม - เอาต้นไม้กั้น - อยู่ใกล้แหล่งน้ำดับฝุ่น - จุดจ่ายไม่น่าเกลียด บังตาบ้าง แนวต้นไม้ ลม โรงย่อย บ้าน ถนน
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) 1.9 ปรึกษา Consultant คุยกันบ้าง อย่าเซ็นอย่างเดียว โดยเฉพาะ เงื่อนไขสิ่งแวดล้อม 1.10 เอาคุณภาพแหล่งหินมาวางแผนเดินหน้าเหมือง ทำอย่างไรจึงไม่มีหิน ทิ้ง ถ้ามีหินทิ้งจะเอาไปทำอะไรต่อดี เงื่อนไข - ห้าม…………… - ………….ไม่เกิน - วัด….. ครั้ง/เดือน ไม่ดี ดี ดี
จุดตัก รถบรรทุก สายพาน CR. ปั่นไฟฟ้า มาขับมอเตอร์ หินลงเขา สายพานลงเขา 1.5 กม. สายพานราบ 2.5 กม. 1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) 1.11 จุดตั้งเครื่องย่อย หากใกล้จุดตักจะลดระยะทางขนส่ง ลดฝุ่น ลดต้น ทุน ลดการใช้น้ำมันจากการวิ่ง 1.12 เหมืองประหยัดพลังงานใช้พลังแรงโน้มถ่วงมาปั่นไฟฟ้าใช้งาน
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) 1.13 ทำงานกี่กะดี On Peak VS Off Peak ประหยัดไฟฟ้าของชาติ ประหยัดไฟฟ้าของเรา 1.14 ขนส่งหินจากภูเขาลอดใต้เขาด้วย Glory Hole ประหยัดน้ำมัน ลด ระยะทางวิ่ง ลดฝุ่นฟุ้งจากการวิ่ง และการบด เครื่องย่อยใต้ภูเขา CR.
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) • 1.15 การเลือกวิธีการทำเหมืองหิน • ใช้ระเบิดต้นทุนถูก ใช้ได้ทั่ว ๆ ไป ชาวบ้านต้องยอมรับ (เคลียร์ • แนวคิดก่อน) • หัวกัดหิน ต้นทุนแพง ใช้เฉพาะแหล่ง • ในพื้นที่ที่ชาวบ้านต่อต้านการระเบิด • 1.16 ซื้อพื้นที่ให้กว้าง ๆ เพื่อลดผลกระทบในอนาคต อย่าขี้เหนียว • ซื้อพื้นที่ให้กว้าง ๆ จนไกลจากรัศมีระเบิด • ป้องกันการร้องเรียนในอนาคต
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) • 1.17 เช่าเครื่องจักรมาใช้บ้างก็ดี โดยเฉพาะเจ้าของเครื่องจักรที่อยู่ใน • ท้องถิ่นในช่วงพัฒนาหน้าเหมือง • 1.18 ใช้คอมพิวเตอร์หา Optimize • เพื่อออกแบบเหมืองที่ได้ปริมาณ • แร่สำรองสูงสุด • เพื่อหาจำนวนเครื่องจักรที่พอดี ๆ ทำให้ชุมชนมีรายได้บ้าง
ทางระบายน้ำ ใต้หิน 1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) • 1.19 จะออกแบบหน้าเหมืองแบบไหนดี • ไหล่เขา (Side Hill Cut) • บ่อเหมืองบนยอดเขา (Semi Open Cut) • บ่อเหมืองในที่ราบ (Open Pit) • 1.20 ทำหลุมหุบ (Sink Hole) เป็นที่ซับน้ำอย่าเอาหินดินมาถม ปล่อยให้ • ต้นไม้เหมือนเดิม SHC SOC OP พื้นที่ทำเหมือง หลุมหุบ หลุมหุบในแผนที่
เว้นพื้นที่ ถ้ำ หน้าเหมือง 1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) • 1.21 อยู่กับถ้ำและโบราณสถานได้อย่างสันติ • เว้นระยะห่าง • ไปคุยกับวัดรับทราบปัญหา ทอดผ้าป่าบ้าง • ทำ Pre-spliting กั้นแนวสั่นสะเทือน • จุดวัดผลกระทบ (สั่นสะเทือน, เสียงดังสนั่น) • 1.22 ร่วมแผนผังโครงการกับแปลงอื่น (เพื่อนบ้าน) จะได้หินเพิ่มใช้ • ทรัพยากรแร่คุ้มค่า ได้หินเพิ่ม 1 2 1 2
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) • 1.23 ขอประทานบัตร อย่าลืมขอทางเข้าด้วยให้ติดกับถนนใหญ่ คนชอบ • ลืม และควรมีที่ราบรอบเขาจะได้ดูแลเขตประทานบัตรง่าย ปกป้อง • คนบุกรุกเข้ามาล่าสัตว์ • 1.24 สร้างเรือนเพาะชำ จะเอาต้นไม้อะไรมาปลูกดี • สร้างเรือนเพาะชำใกล้แหล่งน้ำ • ปลูกต้นไม้ใกล้ตัว ไม้สวยงาม • ปลูกต้นไม้ไกลตัว ให้เทวดาเลี้ยง ไม้ท้องถิ่นดีที่สุด
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) • 1.25 จุดชมวิว หากทำดีด้านสิ่งแวดล้อมก็มักจะมีคนมาเยี่ยมบ่อย ๆ ควร • จัดเตรียมเส้นทางชมเหมือง และจุดชมวิวด้วย • 1.26 ออกแบบด้านสิ่งแวดล้อม ให้เหมาะกับขนาดธุรกิจ • มากเกินไป • พอดี • น้อยเกินไป ให้ความรู้เป็นความดี พอดี คือ ดี
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) • 1.27 บ่อดักตะกอน ออกแบบให้แบคโฮว์ขุดลอกได้ง่าย หากเป็นบ่อ • คอนกรีต ค่าขุดลอกจะสูง • 1.28 บ่อดักไขมัน • ทำเหมืองใช้เครื่องจักรกล ต้องถ่ายน้ำมันเครื่อง • ระเบิดต้องผสมน้ำมันดีเซล มีปนเปื้อน เผื่อบำรุงรักษาด้วย อย่าลืม ! ตอนเอาน้ำมัน ออกจากบ่อ ทำอย่างไร สร้างบ่อดักไขมันด้วย
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) สูบไปใช้ • 1.29 ระบบระบายน้ำเหมือง • 1.30 คลังวัตถุระเบิด อาคารผสมปุ๋ย • ไกลจากคลังน้ำมันดีเซล • ไกลจากบ้านเรือน • น้ำล้างอาคารผสมปุ๋ยไปไหน คูระบาย การดูแล • การระบายอากาศของอาคารผสมปุ๋ยต้องดี ทางขึ้นเหมือง บ่อพักน้ำ
1. การออกแบบเหมืองรักษ์สิ่งแวดล้อม (ต่อ) • 1.31 การดึงระบบไฟฟ้ามาโรงย่อยหิน • มาจากไหน ไกลเท่าไร ต้องผ่านอะไรบ้าง • ทำลายสิ่งแวดล้อม เช่น ขอบเขา แนวต้นไม้เพียงใด • 1.32 ออกแบบจุดจ่ายหินให้ลูกค้า • ที่ล้างล้อรถ มีหรือเปล่า • จ่ายทางรถไฟ (ฝุ่นน้อย) • จ่ายจากไซโล ฝุ่นน้อยกว่า • ใช้รถตักจ่ายหิน
2. การสำรวจแหล่งหินแบบรักษ์ธรรมชาติ 2.1 ล่าสัตว์ ห้าม ! ล่า 2.2 เวลาทำงานกลางคืน ห้าม ! ทำ 2.3 น้ำมันเครื่องจากเครื่องเจาะ รวบรวมเก็บกลับมา 2.4 เศษอาหาร ภาชนะ พลาสติก / โฟม ห้าม ! ทิ้ง 2.5 ขุดหลุมแล้ว ต้องกลบหรือปิดปากรู มิเช่นนั้น สัตว์ป่าจะตกลงไปตาย
3. การพัฒนาหน้าเหมืองอย่างนักอนุรักษ์ • 3.1 วางแผนตัดทาง จากแผนที่ภูมิประเทศ • ทำให้ Cut = Fill ลดปริมาณงาน ลดการตักขน • ทำเกรดถนน 20 %ก่อนค่อยทำ 10 % จะประหยัดกว่า • ดูทิศทางการระเบิด ระวังหินปลิวลงพื้นที่ชาวบ้าน • ต้นไม้ที่โค่นจะเอาไปไว้ไหน ทิ้ง เผา ใช้งานต่อ ข้อห้ามกฎหมาย • ใช้แบคโฮว์ช่วยตัดทาง จะใช้น้ำมันน้อยกว่ารถดัน • 3.2 พื้นฐานสิ่งแวดล้อมในงานพัฒนา • น้ำมันรั่วไหล เอาขี้เลื่อยไม้มาซับ แล้วขนไปเผา • สายชนวนระเบิดอย่ายาว ระเบิดโป๊ะ เสียงดังมาก • ดูทิศทางหินปลิว • ไล่สิ่งมีชีวิตออกนอกบริเวณระเบิด มีตะขาบ นก กระรอก ไก่ป่า • และชาวเขาที่มาเก็บของป่า
3. การพัฒนาหน้าเหมืองอย่างนักอนุรักษ์ (ต่อ) • 3.3 สำรวจต้นไม้ เก็บพันธุ์ไม้ป่ามาเพาะพันธุ์บ้าง • ไม้ท้องถิ่นจะดีที่สุด ทั้งประหยัดเงิน โตง่าย เหมาะกับพื้นที่ สัตว์ • ป่าที่นั้น ๆ คุ้นเคย • ไม้ที่ให้ผล ไม้ที่มีแต่ใบ ปลูกคละกันบ้าง • ดูลักษณะความเป็นอยู่ของไม้ชอบแบบไหน • 3.4 พบฟอสซิล / ของโบราณ • อย่า ระเบิดทิ้ง เก็บเอามารักษาไว้ • หากสงสัยทำตำแหน่งไว้ หาผู้รู้มาศึกษา !
3. การพัฒนาหน้าเหมืองอย่างนักอนุรักษ์ (ต่อ) • 3.5 ระเบิดให้เป็นเวลา • อย่าระเบิดช่วงสัตว์ออกหากิน • เช่น เวลาค้างคาวออกจากถ้ำ • 3.6 สูบบุหรี่ ระวังไฟไหม้ป่า • อย่าเผายางรถยนต์ในป่า • ดับบุหรี่ให้สนิท • ดับไฟฟืนให้เรียบร้อย
3. การพัฒนาหน้าเหมืองอย่างนักอนุรักษ์ (ต่อ) • 3.7 เก็บตัวอย่างดิน หินแปลก ๆ ที่พบ อาจนำมาใช้ประโยชน์ได้ • อาจเป็นแร่พลอยได้ ที่มีค่าทางเศรษฐกิจ • อาจเป็นแร่มีพิษ ที่อาจต้องควบคุมพิเศษ • 3.8 หินสวย ๆ อย่าระเบิดทิ้งเก็บออกมาทำหินสวนหย่อมได้ประโยชน์ • มากกว่า • เอาหินสวย ๆ มาทำสวนหย่อม • ปลูกต้นไม้สวย ๆ บริเวณหน้างานดีกว่า
4. การระเบิดที่ไม่เบียดเบียนใคร • 4.1 ลดทรัพยากรการระเบิด • ทำให้ใช้ปุ๋ยลดลง โดยการขยาย Pattern ทำ Air Gap • ทำให้ใช้แท่งดินระเบิดแรงสูงลดลง โปรดทำวิจัย • ปิดปากรูให้แน่น ๆ ป้องกันพลังงานสูญเสีย • 4.2 ลดการสั่นสะเทือนจากการระเบิด • Maximum Charge / delay ให้ลดลง • ใช้แก๊ปถ่วงจังหวะ มิลลิวินาที • ทำ Prespilting Line หากจำเป็น • หาจุดวัด และความถี่ ด้านแรงสั่น • หากอยู่ใกล้ให้ลดปริมาณระเบิด ใช้ลดลง
4. การระเบิดที่ไม่เบียดเบียนใคร (ต่อ) • 4.3 ลดเสียงดังจากการระเบิด • ลดความยาวสายชนวนระเบิด • อากาศเย็นหลังฝนตก เสียงจะดัง • ปิดปากรูระเบิดให้แน่น ๆ • ทิศทางระเบิด ให้หันไปทางอื่น • ใช้แก๊ป EZ แทนสายชนวนระเบิด • ระเบิดโป๊ะจะมีเสียงดัง และมีลมกระแทกมาก • 4.4 ลดหินปลิวจากการระเบิด • หันทิศทางระเบิดไปทางตามยาวหน้าเหมือง • ปิดปากรูระเบิดให้แน่น และลึกพอ • อย่าปล่อยให้เศษหินอยู่บนหน้าระเบิดมาก • โครงสร้างหินสัมพันธ์กับทิศทางปลิว
4. การระเบิดที่ไม่เบียดเบียนใคร (ต่อ) • 4.5 ลดฝุ่นจากการระเบิด • ทิศทางลมมีผลต่อการแพร่กระจาย • ฉีดน้ำที่หน้าระเบิด กรณีจำเป็น ก่อนการระเบิด • หรือฉีดน้ำระหว่างที่ฝุ่นระเบิดฟุ้งอยู่ กรณีจำเป็น • 4.6 โรงผสมปุ๋ย • แอมโมเนียกัดคอนกรีต ขณะก่อสร้างควรผสมสารพิเศษ หรือให้คอนกรีต • ซึมน้ำน้อยลง โดยใช้ Fly ash หรือมีสารทากันซึม • ทำบ่อดักไขมัน (Oil) ด้วย • ทำโรงผสมปุ๋ยให้ระบายอากาศดี เพราะอยู่ไปนาน ๆ จะมีกลิ่นแอมโมเนีย • แรงมาก • 4.7 ถุงปุ๋ย กล่องแก๊ป อลูมิเนียมฟลอย ให้มีการกำจัดทิ้งด้วย
5. การตักขนที่สบายใจไร้กังวล • 5.1 ชนิดรถตัก • หินสาดดี ใช้รถตักล้อยาง กินน้ำมันน้อยกว่า ยุโรปชอบวิธีนี้ • หินสาดไม่ดี หินแน่น ใช้รถตักตีนตะขาบ เปลืองน้ำมันมากกว่า • รถตักตีนตะขาบ เดินมาก ๆ ช่วงล่างแย่ เปลืองอะไหล่ • 5.2 จอดรถสตาร์ทเครื่อง หรือหยุดรถนาน ๆ เอาแอร์ เสียเงินมากโดยเปล่าประโยชน์ • ค่า Service Contract = 500 บาท/ชม. • ค่าคนขับ = 70 บาท/ชม. • ค่าคน Overhaul เร็วขึ้น = 500 บาท/ชม. • ค่าน้ำมันดีเซล 50 ลิตร/ชม. = 500บาท/ชม. • รวม = 1,570บาท/ชม. • เสียเวลาวันละ 15 นาที เดือนละ 450 นาที = 7.5 ชม. • = 11,775 บาท/เดือน 777B
5. การตักขนที่สบายใจไร้กังวล (ต่อ) • 5.3 ระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงแบบประหยัด • แบบอิเลคโทรนิคส์ • บางแห่งใช้น้ำมัน Tejohn มาผสม • แบบใช้ระบบอุ่นน้ำมันเชื้อเพลิง • 5.4 รถบรรทุกหนักวิ่งในเหมือง พยายามใส่ให้เต็มพิกัด จะได้ช่วยลดจำนวน • เที่ยววิ่ง น้อยเที่ยวฝุ่นจากการวิ่งก็น้อมตาม บางคนหันไปเลือก • รถบรรทุกขนาดใหญ่แทน เช่น ใช้รถ 85 ตัน แทน 35 ตัน
5. การตักขนที่สบายใจไร้กังวล (ต่อ) • 5.5 ทำถนนให้เรียบอยู่เสมอ • จะทำให้ประหยัดยางรถบรรทุกและยางรถตัก • ใช้รถเกรดถนน เพื่อลดหินบาดยาง • กรณีจำเป็นเอาหินคลุกหินฝุ่นมาปูทับ • ระวังเหล็กเส้นพื้นคอนกรีตโผล่จะทิ่มยาง อุบัติเหตุยางต้องเป็นศูนย์ • 5.6 ลดฝุ่นจากถนนวิ่ง • ใช้รถเกรดถนนปาดเอาฝุ่นออกบ้าง • ใช้รถราดน้ำ • ใช้ท่อน้ำสเปรย์จากท่อขอบทาง • ปลูกต้นไม้เป็นฉากกั้น
5. การตักขนที่สบายใจไร้กังวล (ต่อ) • 5.7 ใช้รถตักขนาดให้สมดุลย์กับขนาดและจำนวนของรถบรรทุก • รถบรรทุกรอรถตัก • รถตักรอรถบรรทุก • 5.8 ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดที่รถบรรทุก (TPMS) • วัด Cycle Time แต่ละจังหวะ • วัดน้ำหนักบรรทุก (Pay Load) • วัดกิโลเมตรที่วิ่ง • วัด rpm รอบเครื่อง ต้องทำให้สมดุล
6. การย่อยและโปรยกองที่ลดผลกระทบ • 6.1 ลดฝุ่นจากการเทหินลงอ่างเครื่องย่อย • ม่านสายพานยาง • สเปรย์น้ำใกล้หินก่อนเทและขณะเท • ฉีดน้ำที่กองหินก่อนตัก กรณีจำเป็น • 6.2 ขณะโปรยกอง • สเปรย์น้ำลงในสายพาน • ระวังผลกระทบความชื้นต่อผลิตภัณฑ์ทำให้เสียคุณภาพหรือไม่
สูง น้อย 6. การย่อยและโปรยกองที่ลดผลกระทบ (ต่อ) • 6.2 โปรยกองสูงมีฝุ่นมาก • 6.4 เดินเครื่องย่อยที่ใกล้ Rated Capacity หรือมากกว่า • ประหยัดพลังงานไฟฟ้า kWh/ton โดย Max.TpH ฝุ่น
6. การย่อยและโปรยกองที่ลดผลกระทบ (ต่อ) • 6.5 ทำ TPM โรงย่อยด้วย • ทำความสะอาดเบื้องต้น • ค้นหาสิ่งรั่วไหล และที่มาของฝุ่น • สร้างมาตรฐานงาน • 6.6 ออกแบบโรงย่อยที่เข้มงวดเรื่องสัตว์ป่า กรณีจำเป็น.ให้เดิน 2 กะคล่อม • กลางวัน • หากไม่ต้องการรบกวนสัตว์กลางคืนเพิ่ม TpH เป็น 2 เท่าแล้วเดิน • กะเดียว • หากเดินเครื่องย่อย 3 กะ ใช้วิธี Buffer Stock ดึงหินจากหน้าเหมือง • มาใช้ได้ ตัวอย่างที่ ฮ่องกง
7. การซ่อมบำรุงรักษาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • 7.1 ซากเครื่องจักร • ขายทิ้ง (Recycle) จากเศษเหล็ก • ขายทั้งตัว (Reused) • 7.2 ชิ้นส่วนอะไหล่ • ทิ้งเป็นเศษเหล็ก • ซ่อมทำใหม่ (Remanufacturing : Reman) • ซ่อมอะไหล่
7. การซ่อมบำรุงรักษาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ต่อ) • 7.3 น้ำมันเครื่องที่ถ่ายออกมา • ใส่ถาด • เอาขี้เลื่อยซับ • ที่มากับน้ำ ใช้บ่อดักไข • ดักน้ำมันมาผสมทำเชื้อเพลิงเผาปูน • ผลงาน QCC ประดิษฐ์เครื่องดักไขมัน • 7.4 การทำความสะอาดกรองฝุ่นไอดี • ทำเครื่องเป่าฝุ่นที่มิดชิด • ผลงาน QCC ประดิษฐ์
7. การซ่อมบำรุงรักษาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ต่อ) • 7.5 ไฟเชื่อม • แสงไฟ • สะเก็ดไฟ • ไฟไหม้ • ไอเสียจากควันเชื่อม • 7.6 เศษท่อไฮดรอลิก • เปลี่ยนทั้งสายทั้งหัว • เปลี่ยนเฉพาะสายก็ได้ • การทิ้งสาย • การทิ้งสายไฮดรอลิกให้สะเด็ดน้ำมันก่อน
7. การซ่อมบำรุงรักษาที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ต่อ) • 7.7 อับอากาศ • ไซโล • ถังน้ำมัน • ถังน้ำ • 7.8 แบตเตอรี่ • พิษภัยตะกั่ว • น้ำกรด ให้ระมัดระวัง และอย่าอยู่ใกล้กับวัตถุระเบิด • ไอน้ำกรดขณะชาร์ท ต้องอยู่ในที่ระบายอากาศดี • การคืนแบตเตอรี่ที่ชำรุดให้กับผู้ขาย • ถ่านไฟฉายแบบทิ้งแยกเก็บ ใช้แบบชาร์ทได้จะดีกว่า
8. การฟื้นฟูที่ดินขณะทำเหมือง • 8.1 เรือนเพาะชำ • รวบรวมพันธุ์ไม้พื้นเมือง • ตั้งโรงเรือน และจ้างคนดูแล • 8.2 โครงการปลูกต้นไม้ • ทำคันดิน • ปลูกทุกปี • ให้พนักงานท้องถิ่น ชุมชน ข้าราชการ มีส่วนร่วมในการปลูก
9. สิ่งอำนวยประโยชน์ที่ไม่ควรลืม • 9.1 โรงอาหารในเหมือง • ควันจากการทำอาหาร • กระป๋องฉีดยาฆ่าแมลง • การปนเปื้อนที่อาหาร • ผ้าถูพื้น แยกระหว่างห้องน้ำ และลานโรงอาหาร • อากาศถ่ายเท • สุนัขจรจัดเลียจาน • Clean Food, Good Taste
9. สิ่งอำนวยประโยชน์ที่ไม่ควรลืม • 9.2 งานชุมชนสัมพันธ์รอบเหมือง • โครงการครูอาสาจากพนักงานสอนเด็กนักเรียนชุมชน เช่น การ • ดับเพลิง ความปลอดภัย • โครงการสร้างชุมชนปลอดสารพิษ เช่น เกษตรธรรมชาติ (คิวเซ) • ปุ๋ยหมัก • โครงการทอดผ้าป่าวัดโรงเรียนใกล้เหมือง • - ผ้าป่าขยะ Recycle • - ผ้าป่า AFR • ทุนการศึกษานักเรียนรอบเหมือง
สวัสดี ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่ เว็บไซต์ พุทธวิธีบริหาร