1 / 16

เมตาคอกนิชัน ( Metacognition ) โดย ผศ.ดร.ประยูร บุญใช้

เมตาคอกนิชัน ( Metacognition ) โดย ผศ.ดร.ประยูร บุญใช้. สูญหาย. สูญหาย. กระบวนการควบคุมการรู้คิด ( metacognition). ท่อง. ตอบ สนอง. กลวิธี. ความใส่ใจ. การรับรู้. ความจำ ระยะยาว (Long Term Memory). ความจำระดับ ประสาทสัมผัส (Sensory Memory). ความจำ ระยะสั้น (Short Term

kimball
Download Presentation

เมตาคอกนิชัน ( Metacognition ) โดย ผศ.ดร.ประยูร บุญใช้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เมตาคอกนิชัน(Metacognition) โดย ผศ.ดร.ประยูร บุญใช้

  2. สูญหาย สูญหาย กระบวนการควบคุมการรู้คิด (metacognition) ท่อง ตอบ สนอง กลวิธี ความใส่ใจ การรับรู้ ความจำ ระยะยาว (Long Term Memory) ความจำระดับ ประสาทสัมผัส (Sensory Memory) ความจำ ระยะสั้น (Short Term Memory) ท่อง สิ่งเร้าภายนอก ลงรหัส เรียกคืน ลืมแต่ยัง เรียกคืนได้ ทฤษฏีประมวลผลข้อมูล (Klausmeier)

  3. ความหมายของเมตาคอกนิชัน (Metacognition) “การควบคุมและประเมินการคิดของตนเอง ความสามารถของบุคคลที่ได้รับการพัฒนาเพื่อควบคุม กำกับกระบวนการทางปัญญาหรือกระบวนการคิด มีความตระหนักในงานและสามารถใช้ยุทธวิธีทำงาน จนสำเร็จอย่างสมบูรณ์”

  4. ความรู้ในเมตาคอกนิชัน (Metacognitive knowledge) ความรู้ในเมตาคอกนิชัน หมายถึง ธรรมชาติของความรู้ กระบวนการเรียนรู้ ลักษณะการเรียนรู้ของบุคคล ยุทธวิธีการเรียนรู้

  5. การควบคุมเมตาคอกนิชัน (Metacognitive control) การควบคุมเมตาคอกนิชัน หมายถึงธรรมชาติของการตัดสินใจกิจกรรม ทางปัญญา วิธีการควบคุมการคิดและ การเรียนรู้ของตน

  6. ความตระหนักในเมตาคอกนิชัน(Metacognitive awareness) ความตระหนักในเมตาคอกนิชัน หมายถึงการมีสติว่าคิดอะไร ทำอะไร ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน 1. ความรู้ตนเอง (Declarative knowledge) หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับตนเอง ในฐานะผู้เรียนรู้ และรู้เกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของตน 2. ความรู้กระบวนการ (Procedural knowledge) หมายถึง ความรู้ เกี่ยวกับทักษะด้านกระบวนการ 3. ความรู้เงื่อนไข (Conditional knowledge) หมายถึง ความรู้ว่าเวลาใด และเหตุผลใดที่จะใช้ความรู้ตนเองและความรู้กระบวนการ

  7. องค์ประกอบของเมตาคอกนิชันองค์ประกอบของเมตาคอกนิชัน 1. การวางแผน (Planning) 2. การกำกับ (Regulation) 3.การประเมิน (Evaluation)

  8. การพัฒนาเมตาคอกนิชัน ยุทธวิธีพื้นฐานของเมตาคอกนิชัน 1. การเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม 2. การเลือกยุทธวิธีการคิดอย่างพิถีพิถันและรอบคอบ 3. วางแผนกำกับหรือตรวจสอบ และประเมินกระบวนการคิด

  9. ยุทธวิธีที่ใช้พัฒนาเมตาคอกนิชันยุทธวิธีที่ใช้พัฒนาเมตาคอกนิชัน 1. ระบุว่าเรารู้อะไร เราไม่รู้อะไร 2. สนทนาหรืออภิปรายเกี่ยวกับการคิด 3. การเขียนอนุทินเกี่ยวกับการใช้ความคิดหรือการคิด 4. การวางแผนและการกำกับตนเอง 5. สรุปกระบวนการคิดที่ใช้เมื่อทำกิจกรรมเสร็จแล้ว 6. การประเมินผลตนเอง

  10. การพัฒนาเมตาคอกนิชันในการอ่านการพัฒนาเมตาคอกนิชันในการอ่าน หลักการพัฒนาเมตาคอกนิชันในการอ่าน 1. การใส่ใจกับการอ่าน 2. การจัดเตรียมและวางแผนการอ่าน 3. การประเมินผลการอ่าน

  11. ยุทธวิธีในการฝึกผู้เรียนเพื่อพัฒนาเมตาคอกนิชันในการอ่านยุทธวิธีในการฝึกผู้เรียนเพื่อพัฒนาเมตาคอกนิชันในการอ่าน 1. สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของการอ่าน 2. ให้ผู้เรียนตั้งจุดประสงค์ในการอ่านแต่ละครั้ง 3. ให้ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามถามตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่อ่าน 4. ให้ผู้เรียนตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับสิ่งที่อ่าน 5. ฝึกให้ผู้เรียนรู้จักสรุปเนื้อหาที่อ่านโดยใช้ภาษาของตน

  12. 6. ฝึกให้ผู้เรียนสร้างจินตภาพเกี่ยวกับสิ่งที่อ่าน 7. การทำนายเนื้อหาที่อ่าน 8. การทำเครื่องหมายเพื่อเน้นจุดสนใจในขณะอ่าน 9. การจัดลำดับความสำคัญของประโยค 10. ให้ผู้เรียนรู้จักตอบสนองต่อสิ่งที่อ่าน

  13. การพัฒนาเมตาคอกนิชันในการแก้โจทย์ปัญหาการพัฒนาเมตาคอกนิชันในการแก้โจทย์ปัญหา ยุทธวิธีในการฝึกผู้เรียนเพื่อพัฒนาเมตาคอกนิชันในการแก้โจทย์ปัญหา ขั้นที่ 1 การฝึกให้ผู้เรียนรู้จักวางแผน 1. ฝึกให้ผู้เรียนวิเคราะห์เป้าหมาย 2. ฝึกให้ผู้เรียนใช้ยุทธวิธีต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา 2.1 ยุทธวิธีเดาและตรวจสอบ 2.2 ยุทวิธีวาดภาพ 2.3 ยุทธวิธีสร้างตาราง

  14. 2.4 ยุทธวิธีสร้างรายการ 2.5 ยุทธวิธีเขียนแผนภาพ 2.6 ยุทธวิธีใช้การให้เหตุผล 2.7 ยุทธวิธีค้นหาแบบแผน 2.8 ยุทธวิธีแก้ปัญหาที่ง่ายขึ้นกว่าเดิม 2.9 ยุทธวิธีทำย้อนกลับ 3. เรียงลำดับขั้นตอนตามยุทธวิธีที่ได้เลือกไว้ 4. ประมาณคำตอบที่คาดว่าจะได้

  15. ขั้นที่ 2 การฝึกให้ผู้เรียนสามารถกำกับ ควบคุมและตรวจสอบ ความคิดของตนเองได้ 1. กำหนดเป้าหมายไว้ในใจ 2. กำกับวิธีการต่างๆ ให้เป็นไปตามขั้นตอนของยุทธวิธีที่ได้เลือกไว้ ขั้นที่ 3 การฝึกให้ผู้เรียนสามารถประเมินความคิดของตนเองได้ 1. ประเมินความสำเร็จตามเป้าหมาย 2. ตรวจสอบคำตอบ 3. ตรวจสอบขั้นตอนในการปฏิบัติ

  16. สวัสดี

More Related