1 / 13

การศึกษาพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพ

การศึกษาพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพ. ของนักเรียนในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ. วัตถุประสงค์. 1. เพื่อประเมินพฤติกรรมสุขภาพ และภาวะสุขภาพของ นักเรียนในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ. 2. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพ และภาวะสุขภาพ ของนักเรียนในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่มีระดับ แตกต่างกัน.

Download Presentation

การศึกษาพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพการศึกษาพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพ ของนักเรียนในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประเมินพฤติกรรมสุขภาพ และภาวะสุขภาพของ นักเรียนในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 2. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพ และภาวะสุขภาพ ของนักเรียนในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่มีระดับ แตกต่างกัน

  2. กรอบแนวคิดในการวิจัย • คุณลักษณะส่วนบุคคล • - เพศ • - อายุ • - ระดับชั้นเรียน • - ศาสนา • - การอยู่อาศัย / จำนวน • บุคคลในครอบครัว • - สภาพครอบครัว • - อาชีพบิดา/มารดา • - การศึกษาบิดา/มารดา • สัมพันธภาพในครอบครัว พฤติกรรมสุขภาพ 1. การบริโภคอาหาร 2. การออกกำลังกาย 3. การดูแลสุขภาพตนเอง และความสะอาดทั่วไปของ ร่างกาย และเสื้อผ้า 4. อารมณ์และความรู้สึก คุณลักษณะของโรงเรียน - ระดับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (ทอง เงิน ทองแดง,ไม่ผ่าน) - ประเภทโรงเรียน (ประถม, มัธยม) - ที่ตั้งของโรงเรียน ภาวะสุขภาพ 1. ภาวะการเจริญเติบโต - น้ำหนัก/อายุ - น้ำหนัก / ส่วนสูง - ส่วนสูง/อายุ 2. โรคฟันผุ เหงือกอักเสบ 3. โรคจากสุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี (เหา หิด กลาก เกลื้อน) 4. ภาวะสายตา

  3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย • แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ • ของนักเรียน 2. แบบบันทึกภาวะสุขภาพนักเรียน

  4. จังหวัด เ ท ศ บาล ช น บ ท ทอง เงิน ทองแดง ไม่ผ่านเกณฑ์ ทอง เงิน ทองแดง ไม่ผ่านเกณฑ์ ประถม มัธยม ประถม มัธยม ประถม มัธยม ประถม มัธยม ประถม มัธยม ประถม มัธยม ประถม มัธยม ประถม มัธยม

  5. กลุ่มตัวอย่าง 1. นักเรียนชั้น ป.5 - ป.6 ในโรงเรียนส่งเสริม สุขภาพระดับประถมศึกษา 2. นักเรียนชั้น ม.2 - ม.6 ในโรงเรียนส่งเสริม สุขภาพระดับมัธยมศึกษา

  6. การสุ่มเลือกนักเรียน สุ่มนักเรียนตามแผนภูมิ จำนวนห้องเรียนต่อชั้น 1 ห้องเรียน มากกว่า 1 ห้องเรียน สุ่มนักเรียน 12 คน/ห้อง สุ่มมา 1 ห้องเรียน โดยสุ่มแบบง่าย โดยสุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) หรือสุ่มแบบมีระบบ (Systematic Random Sampling) ตรวจร่างกาย / ตอบแบบสอบถาม

  7. จำนวนตัวอย่าง จำนวนตัวอย่าง จำแนกตามเพศและเขตที่ตั้งของโรงเรียน จำแนกตามศาสนาและเขตที่ตั้งของโรงเรียน

  8. จำนวนตัวอย่าง จำนวนตัวอย่าง จำแนกตามระดับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพกับปัญหาเรื่องเหงือก จำแนกตามระดับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพกับปัญหาเรื่องฟัน

  9. จำนวนตัวอย่าง จำนวนตัวอย่าง จำแนกตามระดับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพกับกลุ่มพฤติกรรมอารมณ์ ความรู้สึก จำแนกตามระดับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพกับการตรวจร่างกาย

  10. จำนวนตัวอย่าง จำนวนตัวอย่าง จำแนกตามระดับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง จำแนกตามระดับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพกับพฤติกรรมการบริโภค

  11. จำนวนตัวอย่าง จำนวนตัวอย่าง จำแนกตามระดับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและน้ำหนักตามเกณฑ์อายุ จำแนกตามระดับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ

  12. จำนวนตัวอย่าง จำนวนตัวอย่าง จำแนกตามระดับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง จำแนกตามระดับโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพกับการออกกำลังกายในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา

More Related