20 likes | 158 Views
จุดหมายปลายทางการสร้างเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเท้าช้าง ปี 2553-2554 (กำหนดเมื่อ วันที่ 21 ตุลาคม 2552 ). แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ ( SLM) สร้างเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเท้าช้าง ปี 2553-2554
E N D
จุดหมายปลายทางการสร้างเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเท้าช้าง ปี 2553-2554 (กำหนดเมื่อ วันที่ 21 ตุลาคม 2552)
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) สร้างเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเท้าช้าง ปี 2553-2554 (สร้างเมื่อ 21 ตุลาคม 2552) ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องต่อโรคเท้าช้าง ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท อปท. ร่วมตัดสินใจและขับเคลื่อนสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและมีส่วนร่วมเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเท้าช้างอย่างต่อเนื่อง หน่วยงานภาครัฐทั้งใน/นอกกระทรวงสาธารณสุขผลักดัน นโยบายสนับสนุนและประสานงานวิชาการอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม