90 likes | 245 Views
AEC. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( A SEAN E conomic C ommunity: AEC ). 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม. 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน. สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี. e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์). นโยบายภาษี. ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี. นโยบายการแข่งขัน. ลงทุนได้อย่างเสรี.
E N D
AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ทำ FTAs กับประเทศนอกอาเซียน ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม SMEs
อาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้นอาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น MRA ไม่ได้เป็นการเปิดตลาดแต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพ สาขาวิศวกรรม MRAs ข้อตกลงยอมรับร่วมนักวิชาชีพในอาเซียนสามารถจดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ สาขานักสำรวจ* สาขานักบัญชี* สาขาสถาปัตยกรรม สาขาแพทย์ สาขาพยาบาล สาขาทันตแพทย์ *ยังเป็นเพียง Framework หรือ หลักการกว้างๆ โดยต้องมีการเจรจาในรายละเอียดต่อไป 2
การดำเนินการของสภาวิชาชีพบัญชีการดำเนินการของสภาวิชาชีพบัญชี • คณะอนุกรรมการการศึกษาและติดตามผลกระทบของ AEC ต่อวิชาชีพบัญชี
กรอบข้อตกลงยอมรับร่วมในสาขาบัญชีของอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition Arrangement Framework on Accountancy Services) ลงนาม กุมภาพันธ์ 2552 • ทำโดยอ้างอิง ASEAN Framework Agreement on Services AFAS • หลักการ คือ กำหนดแนวทางเพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการเจรจา MRA ด้านบัญชีในอนาคตของอาเซียน ประกอบด้วยหลักเกณฑ์เรื่องการศึกษา การสอบ ประสบการณ์ กระบวนการให้การยอมรับ ระบบข้อมูลเอกสาร ระเบียบวินัยและหลักจริยธรรม มาตรฐานและแนวปฏิบัติสากล • MRA จะต้องไม่ลดทอนสิทธิ อำนาจ หน้าที่ของสมาชิกอาเซียนแต่ละประเทศ ในการกำกับดูแลและออกกฎระเบียบ หรือกฎหมายภายใน แต่ต้องไม่สร้างอุปสรรคเกินจำเป็น
กรอบข้อตกลงยอมรับร่วมในสาขาบัญชีของอาเซียน (ASEAN Mutual Recognition Arrangement Framework on Accountancy Services) ลงนาม กุมภาพันธ์ 2552 • การออกใบอนุญาตและการขึ้นทะเบียนของวิชาชีพบัญชีอาเซียนจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในของแต่ละประเทศ • กรอบข้อตกลงได้กำหนดกรอบการดำเนินการและขอบเขตความรับผิดชอบของหน่วยงานที่รับผิดชอบสาขาบัญชี
กรอบข้อตกลงยอมรับร่วมในสาขาบัญชีของอาเซียน (ASEAN MutualRecognition Arrangement Framework on Accountancy Services) ประโยชน์ที่จะได้รับ • เป็นกรอบแนวทางเพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้าไปทำงานในวิชาชีพในอนาคต • เมื่อสมาชิกอาเซียนทีมีความพร้อม ก็สามารถเข้าร่วมเจรจายอมรับคุณสมบัติของกันและกันได้ โดยใช้กรอบข้อตกลงนี้เป็นพื้นฐานในการเจรจา • ในระหว่างที่ยังไม่พร้อม สามารถศึกษากรอบข้อตกลงนี้ไปก่อน • ใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมทั้งในการส่งบุคลากรออกไปทำงานในประเทศอาเซียนอื่น และรับมือกับบุคลากรจากอาเซียนที่จะเข้ามาทำงานในประเทศไทย
ความคืบหน้าการเตรียมความพร้อมของประเทศสมาชิกสหพันธ์บัญชีอาเซียนต่อ AEC : ไทย • สภาวิชาชีพบัญชี (FAP) ปรับเลขมาตรฐานบัญชีให้สอดคล้องกับ IFRS • อยู่ระหว่างการนำมาตรฐานรายงานทางการเงินที่จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศมาใช้อย่างเต็มรูปแบบ • FAP ออกมาตรฐานรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อบรรเทาภาระกิจการที่ไม่พร้อมจะปฏิบัติตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน • จัดทำแนวทางการปฏิบัติงานสอบบัญชี เพื่อให้พร้อมต่อการปฏิบัติตามข้อกำหนดของมาตรฐานการสอบบัญชีฉบับใหม่ ซึ่งมีผลเมื่อ 1 มกราคม 2555
ผลกระทบจากการเปิดเสรีผลกระทบจากการเปิดเสรี ผลทางบวก ผลทางลบ สำนักงานบัญชีไทยอาจสูญเสียแรงงานให้กับสำนักงานต่างชาติ สำนักงานบัญชีไทยอาจไม่สามารถให้บริการที่หลากหลายและมีมาตรฐานระดับสากล เช่นเดียวกับสำนักงานบัญชีต่างชาติ สำนักงานบัญชีต่างชาติอาจมีการควบรวมกิจการมากขึ้นเพื่อขยายส่วนแบ่งทางการตลาด • อัตราการจ้างแรงงานนักบัญชีและผู้สอบบัญชีไทยสูงขึ้น ทำให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศทางการบัญชี • ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สอบบัญชีไทยอย่างต่อเนื่อง • จำนวนผู้ให้บริการด้านวิชาชีพบัญชีสูงขึ้น ทำให้ไม่เป็นตลาดการแข่งขันของผู้เสนอบริการน้อยราย (Oligopoly) • ผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้น ได้รับบริการที่มีคุณภาพดีขึ้นในอัตราค่าบริการที่ถูกลง
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีการเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี • เพิ่มการลงทุนในด้านโปรแกรมบัญชี (Accounting Software) เพื่อใช้ในการจัดทำและสอบบัญชี • อบรมและพัฒนาความรู้ความสามารถของผู้สอบบัญชีอย่างต่อเนื่อง • เน้นการให้บริการที่มีลักษณะที่เป็นการเฉพาะมากขึ้น เช่น ให้บริการสอบบัญชีตามประเภทของธุรกิจหรืออุตสาหกรรม • แข่งขันในด้านค่าธรรมเนียม โดยเสนอบริการที่ถูกกว่า สำหรับระดับการบริการที่มีคุณภาพทัดเทียมกันหรือดีกว่า • ขยายขนาดของสำนักงาน โดยการควบรวมกิจการกับสำนักงานอื่นๆ เพื่อดึงดูดลูกค้าที่เป็นธุรกิจขนาดใหญ่และบริษัทข้ามชาติ