680 likes | 960 Views
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน” ปีงบประมาณ 2553. วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลตราด. www.traffic-acnet.com.
E N D
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ร่วมกับ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน” ปีงบประมาณ 2553 วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ณ ห้องประชุม โรงพยาบาลตราด www.traffic-acnet.com โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
วัตถุประสงค์ของการประชุมเชิงปฎิบัติการวัตถุประสงค์ของการประชุมเชิงปฎิบัติการ • นำเสนอปัญหาอุบัติเหตุจราจรทางถนนของ จ.ตราด • แนะนำการใช้คู่มือการจัดการอุบัติเหตุจราจรแบบบูรณาการ • กำหนดเป้าหมายในการจัดการอุบัติเหตุจราจร • ประเมินบทบาทของแต่ละหน่วยงานตามสถานการณ์จริง • วิเคราะห์และกำหนดบทบาทการดำเนินงานเกี่ยวกับอุบัติเหตุจราจร • ประเมินศักยภาพการดำเนินงานตามขั้นตอนการจัดการอุบัติเหตุจราจรแบบบูรณาการ • พิจารณาแผนการดำเนินงานตามขั้นตอนฯ • นำเสนอเทคนิคการจัดทำแผลกลยุทธ์ โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
www.traffic-acnet.com โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
กิจกรรมของแต่ละเครือข่ายกิจกรรมของแต่ละเครือข่าย บริบทจริงในพื้นที่ ผลลัพธ์ /เป้าหมาย วัตถุประสงค์ โครงการ กิจกรรม 1 กิจกรรม 2 กิจกรรม 3 กิจกรรม… เปิดช่องทางให้มีการประเมินตนเองตามความจริง เสริมพลังเพื่อปรับกลยุทธ์แต่ละกิจกรรม แก้ความพร่องทีละจุด กระบวนการประเมินเพื่อเสริมพลัง โครงการบรรลุเป้าหมาย เกิดบทเรียนจากการทำงาน คน/ ทีมงานพัฒนาขึ้น โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
ผู้รับผิดชอบการจัดการฯผู้รับผิดชอบการจัดการฯ • ประเมินงานของตนเอง • ช่วยกันหากลยุทธ์หรือแนวทางที่จะทำให้การบริหารโครงการดีขึ้น • ดึงประสบการณ์ของตัวเองออกมาแลกเปลี่ยน • กระตุ้นหรือให้กำลังใจเพื่อนสมาชิก โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
หลักเกณฑ์ของ EE • ดึงคนที่มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามาร่วมประเมินงานของตนเองให้ครอบคลุมมากที่สุด • ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมประเมินในทุกขั้นตอน ผู้ประเมินเป็นเพียงผู้อำนวยความสะดวก (coach) เพื่อให้กระบวนการบรรลุเป้าหมาย • ต้องให้โอกาสร่วมในการตัดสินใจในแต่ละส่วน และรับความเสี่ยง • เป็นการประเมินที่เน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นฐาน (Stakeholder based evaluation) โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
หลักเกณฑ์ของ EE • เน้นการใช้ประโยชน์เป็นฐาน (utilization based evaluation) • เน้นการมีส่วนร่วมและการมีบทบาทเท่า ๆ กัน เพื่อปรับปรุงโครงการและสร้างความสามารถระดับบุคคล กลุ่ม องค์กร และชุมชน (participatory evaluation) • เน้นการปฏิบัติ การใช้ประโยชน์จากการประเมินผล (practical participatory action research) • มีการแปลงสภาพนำความเป็นธรรมมาสู่ผู้เข้าร่วมงาน (Transformative evaluation) วิพากษ์ตนเองด้วยความซื่อสัตย์ โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
กระบวนการ EE • ขั้นเตรียม (สำคัญมากโดยเฉพาะครั้งแรก) • ขั้นดำเนินการ (ใช้ 3 ขั้นตอน) • ขั้นติดตาม (ผู้ประเมินติดตามกิจกรรมที่กำหนดร่วมกัน และตั้งข้อสังเกต) โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
วิเคราะห์สถานการณ์จริงวิเคราะห์สถานการณ์จริง • วิกฤต เป็นโอกาส • ตั้งสติ ใช้ปัญญาในการแก้ไข เขยื้อนภูเขา องค์ความรู้ กระแสสังคม การเมือง โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
การวิเคราะห์สถานการณ์คำถามของพระพุทธองค์การวิเคราะห์สถานการณ์คำถามของพระพุทธองค์ ทำอย่างไรจึงดี???? โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
... ฉันพูดกับพุทธองค์ว่า โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
... ฉันพูดกับพุทธองค์ว่า โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
... ฉันพูดกับพุทธองค์ว่า โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
... ฉันพูดกับพุทธองค์ว่า โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
ขั้นตอนการทำกิจกรรมการประเมินแบบเสริมพลัง (Empowerment Evaluation: EE) รศ.ดร.กุหลาบ รัตนสัจธรรม www.researchwisdom.com www.traffic-acnet.com โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
กำหนดเป้าหมายร่วมกัน เรามาวันนี้.......เรามาเพื่อกำหนดเป้าหมาย การลดปัญหาอุบัติเหตุจราจร กระดาษ เขียนใส่กระดาษ โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
แบ่งกลุ่มการทำงาน แบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อย เครือข่ายระดับจังหวัด 30 คน 109คน เครือข่าย อ.เมือง 38 คน เครือข่าย อ.เขาสมิง 29 คน เครือข่าย อ.เกาะช้าง 12 คน โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
หมายถึง ข้อมูลจาก EMS โรงพยาบาลตราด หมายถึง ข้อมูลจาก สมาคมกู้ภัยบุญช่วยเหลือ ข้อมูลตำบลเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุจราจรทางถนน (ข้อมูลตั้งแต่เดือน มกราคม – พฤศจิกายน 2552) โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
อันดับ1 อำเภอเกาะช้าง จำนวนอุบัติเหตุ 117 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 2800.18 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 3145.16 ต.เกาะช้าง โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
อันดับ2 อำเภอเมือง จำนวนอุบัติเหตุ 19 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 276.44 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 1297.81 ต.ห้วยแร้ง จำนวนอุบัติเหตุ 5 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 114.84 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 672.04 จำนวนอุบัติเหตุ 209 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 802.46 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 4840.20 จำนวนอุบัติเหตุ 21 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 482.32 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 2822.58 ต.ท่ากุ่ม จำนวนอุบัติเหตุ 69 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 264.93 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 1597.96 จำนวนอุบัติเหตุ 43 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 615.60 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 1580.88 จำนวนอุบัติเหตุ 37 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 529.71 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 1360.29 ต.วังกระแจะ ต.เนินทราย โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
จำนวนอุบัติเหตุ 9 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 361.01 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 670.64 จำนวนอุบัติเหตุ 3 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 120.34 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 223.55 จำนวนอุบัติเหตุ 31 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 499.03 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 743.94 ต.บางพระ ต.ตะกาง ต.ท่าพริก จำนวนอุบัติเหตุ 44 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 708.31 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 1055.92 จำนวนอุบัติเหตุ 20 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 481.00 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 1490.31 ต.ชำราก จำนวนอุบัติเหตุ 8 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 192.40 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 596.13 จำนวนอุบัติเหตุ 7 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 270.48 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 245.10 อำเภอเมือง จำนวนอุบัติเหตุ 6 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 231.84 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 210.08 อันดับ2 โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
อันดับ2 อำเภอเมือง จำนวนอุบัติเหตุ 5 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 158.18 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 119.99 จำนวนอุบัติเหตุ 9 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 284.72 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 215.98 ต.ห้วงน้ำขาว จำนวนอุบัติเหตุ 3 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 41.33 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 105.04 จำนวนอุบัติเหตุ 15 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 206.64 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 525.21 ต.แหลมกลัด ต.อ่าวใหญ่ จำนวนอุบัติเหตุ 12 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 261.27 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 287.98 จำนวนอุบัติเหตุ 1 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 21.77 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 24.00 โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
อันดับ2 จำนวนอุบัติเหตุ 8 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 110.44 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 191.98 อำเภอเมือง จำนวนอุบัติเหตุ 52 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 717.84 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 1247.90 ต.หนองเสม็ด จำนวนอุบัติเหตุ 2 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 45.07 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 48.00 ต.หนองคันทรง จำนวนอุบัติเหตุ 26 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 585.85 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 623.95 โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
อันดับ3 อำเภอเขาสมิง จำนวนอุบัติเหตุ 9 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 199.07 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 445.10 จำนวนอุบัติเหตุ 10 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 288.27 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 928.51 ต.วังตะเคียน ต.เทพนิมิตร จำนวนอุบัติเหตุ 19 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 201.06 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 191.38 จำนวนอุบัติเหตุ 20 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 516.93 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 463.18 จำนวนอุบัติเหตุ 61 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 645.50 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 614.42 ต.ทุ่งนนทรีย์ จำนวนอุบัติเหตุ 3 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 77.54 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 69.48 ต.แสนตุ้ง ต.เขาสมิง จำนวนอุบัติเหตุ 18 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 280.68 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 416.86 จำนวนอุบัติเหตุ 24 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 374.24 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 555.81 โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
อันดับ3 อำเภอเขาสมิง ต.ท่าโสม จำนวนอุบัติเหตุ 7 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 164.36 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 160.18 จำนวนอุบัติเหตุ 7 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 133.23 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 207.28 โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
อันดับ3 อำเภอเขาสมิง จำนวนอุบัติเหตุ 25 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 475.83 อัตราอุบัติการณ์(รถ) 740.30 ต.สะตอ โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
จำนวนอุบัติเหตุ 150 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 402.85 อ.บ่อไร่ จำนวนอุบัติเหตุ 442 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 511.56 อ.เขาสมิง จำนวนอุบัติเหตุ 53 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 212.12 อ.เมือง อ.แหลมงอบ จำนวนอุบัติเหตุ 222 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 279.14 อ.เกาะช้าง จำนวนอุบัติเหตุ 117 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 2800.38 อ.คลองใหญ่ จำนวนอุบัติเหตุ 27 ครั้ง อัตราอุบัติการณ์(ประชากร) 646.24 โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
เขียนเป้าหมายในกระดาษเขียนเป้าหมายในกระดาษ ท่านมีเป้าหมายการลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุในอำเภอท่านภายในระยะเวลา 6 เดือน เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย เป้าหมาย นำเสนอเป้าหมายร่วมแต่ละกลุ่ม จัดกลุ่มเป้าหมาย โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
พัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีในการการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนนพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีในการการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน กรอบแนวคิด การวางแผนโครงการ การจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน การดำเนินการก่อนเกิดเหตุ การควบคุมโครงการ การดำเนินการระหว่างเกิดเหตุ EE การดำเนินการหลังเกิดเหตุ การสนับสนุน โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
พัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีในการการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนนพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีในการการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน การวางแผนโครงการ กรอบแนวคิด ผู้จัดการระบบ (ปภ.) แนวปฏิบัติที่ดีของการจัดการก่อนเกิดอุบัติเหตุ ศูนย์รับแจ้งเหตุ เตรียมความพร้อมด้านความรู้ การควบคุมโครงการ EE เตรียมความพร้อมด้านถนนและสิ่งแวดล้อม เตรียมความพร้อมด้านพฤติกรรม เตรียมความพร้อมระบบตรวจสภาพรถ การสนับสนุน เอกสารคู่มือฯหน้า 47 โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
ประชาชน ผู้พบเหตุ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ปัจจัยเสี่ยง คณะกรรมการระดับจังหวัด แก้ไขไม่ได้ ตำรวจ (191) ประเมินความเสี่ยงของถนน/สัญญาณจราจร (แขวงการทาง) คณะกรรมการระดับอำเภอ แก้ไขไม่ได้ แก้ไขไม่ได้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคน (ตำรวจ มูลนิธิ สถานศึกษา) คณะกรรมการระดับตำบล ประเมินความเสี่ยงของสวล. (ตำรวจ มูลนิธิ) แก้ไขได้ สรุปและรายงานผล ประเมินความเสี่ยงของรถ (ขนส่ง ตำรวจ) แก้ไขได้ ศูนย์รับแจ้งเหตุ ของพื้นที่ (191) แก้ไขได้ แก้ไขได้ การดำเนินการก่อนเกิดเหตุ แนวทางการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
พัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีในการดำเนินโครงการพัฒนาสังคมพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีในการดำเนินโครงการพัฒนาสังคม การวางแผนโครงการ กรอบแนวคิด ผู้จัดการระบบ (ปภ.) ศูนย์รับแจ้งเหตุ แนวปฏิบัติที่ดีของการจัดการระหว่างเกิดอุบัติเหตุ โรงพยาบาล ตำรวจ การควบคุมโครงการ EE อาสาสมัครกู้ภัย ประชาสัมพันธ์ แขวงการทาง องค์กรท้องถิ่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เอกสารคู่มือฯหน้า 49 การสนับสนุน โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
การดำเนินการระหว่างเกิดเหตุการดำเนินการระหว่างเกิดเหตุ แจ้งลูกข่าย ขึ้นทะเบียน (ALS, BLS) จุดเกิดเหตุ แจ้งแม่ข่าย ระหว่างเกิดเหตุ 1669 - ช่วยผู้ประสบเหตุ - ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุซ้ำซ้อน - ส่งต่อ รพ. เจ็บ ศูนย์รับแจ้งเหตุ ของพื้นที่ • ตำรวจ ผู้พบเหตุ 191 เจ็บ/ ไม่เจ็บ ประชาสัมพันธ์ แขวงการทาง แจ้ง/รายงานหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง อาสาสมัครกู้ภัย แนวทางการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
พัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีในการการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนนพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีในการการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน การวางแผนโครงการ กรอบแนวคิด ผู้จัดการระบบ (ปภ.) ศูนย์รับแจ้งเหตุ แนวปฏิบัติที่ดีของการจัดการหลังเกิดอุบัติเหตุ อาสาสมัครกู้ภัย เตรียมความพร้อมด้านความรู้ การควบคุมโครงการ EE เตรียมความพร้อมด้านถนนและสิ่งแวดล้อม เตรียมความพร้อมด้านพฤติกรรม เตรียมความพร้อมระบบตรวจสภาพรถ ฝ่ายปกครอง (ที่ว่าการอำเภอ) การดูแลผู้ประสบเหตุ การสนับสนุน เอกสารคู่มือฯหน้า 50 โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
การดำเนินการหลังเกิดเหตุการดำเนินการหลังเกิดเหตุ คณะกรรมการระดับจังหวัด แก้ไขไม่ได้ คณะกรรมการระดับอำเภอ แก้ไขความเสี่ยงของถนน/ สัญญาณจราจร แก้ไขไม่ได้ แก้ไขไม่ได้ คณะกรรมการระดับตำบล ปรับเปลี่ยนและลงโทษพฤติกรรมคน แก้ไขได้ แก้ไขความเสี่ยงของสวล. สรุปและรายงานผล แก้ไขความเสี่ยงของรถ แก้ไขได้ ศูนย์รับแจ้งเหตุ ของพื้นที่ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ปัจจัยเสี่ยง แก้ไขได้ แก้ไขได้ แนวทางการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
แบบสำรวจบทบาทการจัดการอุบัติเหตุจราจรของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการก่อนเกิดเหตุ ระหว่างเกิดเหตุ และหลังเกิดเหตุ โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
ประเมินศักยภาพการดำเนินงานตามขั้นตอนประเมินศักยภาพการดำเนินงานตามขั้นตอน โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
แบ่งกลุ่มการทำงานเป็น 4 กลุ่มย่อย แต่ละกลุ่มย่อยคิดว่ากิจกรรมแต่ละกิจกรรมสามารถบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ในระดับใด มาก ปานกลาง น้อย ชมพู เขียว น้ำเงิน โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
ลงคะแนน และประเมินศักยภาพ * หมายเหตุ (สีเขียว = 3 คะแนน) (สีน้ำเงิน = 2 คะแนน) (สีชมพู = 1 คะแนน) โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
แผนการดำเนินงานตามขั้นตอนการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนนแผนการดำเนินงานตามขั้นตอนการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
แผนการดำเนินงานตามขั้นตอนการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนนแผนการดำเนินงานตามขั้นตอนการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
แผนการดำเนินงานตามขั้นตอนการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนนแผนการดำเนินงานตามขั้นตอนการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
SWOT MATRIX โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
การทำ SWOT Analysis โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
SWOT Analysis คือ ?? SWOT Analysis คือ... การวิเคราะห์สำรวจสภาพภายในองค์กร และสภาพแวดล้อม ภายนอก เพื่อนำมาสังเคราะห์ว่าองค์กรมี จุดอ่อน(S) จุดแข็ง(W) อุปสรรค(T) และโอกาส(O) อย่างไร โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
ปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอก คือ?? ปัจจัยภายใน คือ สิ่งที่เราควบคุมได้ ได้แก่ จุดอ่อน และจุดแข็ง ปัจจัยภายนอก คือ สิ่งที่เราควบคุมไม่ได้ ได้แก่ อุปสรรค และโอกาส โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
ใช้ SWOT ในการวิเคราะห์ โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
จุดแข็ง:Strengths ยกตัวอย่างเช่น : งานที่เราถนัด ทำแล้วมีความสุข งานที่โดดเด่น ชุมชนชื่นชอบ อะไรที่ชุมชนมีความต้องการให้เราทำซ้ำอีก ทรัพยากร และเครื่องมือที่เรามีความพร้อม โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553
จุดอ่อน :Weaknesses ยกตัวอย่างเช่น : งานที่เราไม่สบายใจที่จะทำ ความต้องการที่จะรับความช่วยเหลือจากเพื่อน ร่วมงาน หรือทักษะบางอย่างที่เรายังไม่มั่นใจ ขาดทรัพยากรในการทำงานให้บรรลุเป้าหมาย โครงการวิจัย การพัฒนาแผนกลยุทธ์เครือข่ายการจัดการอุบัติเหตุจราจรทางถนน ปีงบประมาณ 2553