1.45k likes | 2.04k Views
Basic ICD-10. โดย ผศ . นพ. วีระศักดิ์ จรัสชัยศรี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ. ขั้นตอนวิธีการให้รหัส. 1. เลือก คำหลัก ของโรค 2. ใช้คำหลักเปิดหารหัสจาก ICD-10 เล่ม ดรรชนีค้นหาโรค 3. ตรวจสอบรายละเอียดจากหนังสือ ICD-10 เล่ม ตารางการจัดกลุ่มโรค
E N D
Basic ICD-10 โดย ผศ.นพ.วีระศักดิ์ จรัสชัยศรี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ขั้นตอนวิธีการให้รหัสขั้นตอนวิธีการให้รหัส 1. เลือก คำหลัก ของโรค2. ใช้คำหลักเปิดหารหัสจาก ICD-10 เล่มดรรชนีค้นหาโรค3. ตรวจสอบรายละเอียดจากหนังสือ ICD-10 เล่มตารางการจัดกลุ่มโรค เพื่อเลือกรหัสที่เหมาะสม
รหัสที่ได้จากการเปิดดรรชนีรหัสที่ได้จากการเปิดดรรชนี • ไม่มีรหัสซ่อนอยู่ - รหัสที่ไม่มีสัญลักษณ์.-ซึ่งจะมี 3 หรือ 4 ตำแหน่ง - เป็นเพียงรหัสที่อาจเป็นไปได้เท่านั้น - ต้องอ่านกฎของแต่ละรหัสก่อนใน ICD-10 เล่มที่ 1 ตารางจัดกลุ่มโรค ก่อนตัดสินใจเลือกใช้รหัสใด • มีรหัสซ่อนอยู่ - รหัสที่มีสัญลักษณ์.- ซึ่งจะมี 3 ตำแหน่ง เป็นรหัสที่ ไม่สมบูรณ์ต้องเปิดหารหัสตำแหน่งที่ 4 และ 5 ใน ICD-10 เล่มที่ 1 ตารางจัดกลุ่มโรค - ยกเว้น บางรหัสแม้ไม่มีสัญลักษณ์ .- แต่ก็ไม่สมบูรณ์ ต้องเปิดหารหัสตำแหน่งที่ 5 ใน ICD-10 เล่มที่ 1 ตารางจัดกลุ่มโรค เช่น รหัสตำแหน่งโรคกล้ามเนื้อและกระดูก
ตรวจสอบรายละเอียดจากICD-10 เล่มตารางการจัดกลุ่มโรคเพื่อเลือกรหัสที่เหมาะสมกรณี“ไม่มีรหัสซ่อนอยู่”
ขั้นตอนสุดท้าย ของการให้รหัส ICD-10 • การเรียนรู้ว่ารหัสนั้นๆมี : - กฎการใช้รหัสอย่างไร - สามารถใช้ในกรณีผู้ป่วยลักษณะใดได้บ้าง - มีข้อยกเว้นในการให้รหัสอย่างไร - มีรหัสอื่นที่อาจเลือกมาใช้แทนรหัสนี้หรือไม่
หาข้อมูลได้จากหนังสือ ICD-10 เล่มที่ 1 • วิธีการใช้รหัสโดยละเอียด ปรากฏอยู่ใน : - คำอธิบาย และตัวอย่างโรคของรหัสนั้น - คำอธิบายกลุ่มรหัส ที่รหัสนั้นเป็นสมาชิกกลุ่ม - คำอธิบายต้นหมวด ที่รหัสนั้นอยู่ในหมวด - คำอธิบายต้นบท ที่บรรจุรหัสนั้นไว้
แนวคิดการกำหนดและเรียงรหัส ICD-10เล่มตารางการจัดกลุ่มโรค
A03 Shigellosis A03.0 Shigellosis due to Shigella dysenteriae Group A shigellosis [Shiga-Kruse dysentery] A03.1 Shigellosis due to Shigella flexneri Group B shigellosis A03.2 Shigellosis due to Shigella boydii Group C shigellosis A03.3 Shigellosis due to Shigella sonnei Group D shigellosis A03.8 Other shigellosis A03.9 Shigellosis, unspecified Bacillary dysentery NOS โรคที่สำคัญ พบบ่อย มีลักษณะโดดเด่น จะมีรหัสจำเพาะ โรคที่พบน้อย หลายโรคใช้รหัสเดียวกัน ไม่มีรหัสจำเพาะ โรคที่วินิจฉัยไม่ชัดเจน ไม่ทราบรายละเอียด
สัญลักษณ์ เครื่องหมายและคำจำเพาะที่ใช้ใน ICD-10เล่มตารางการจัดกลุ่มโรค
Inclusion และ exclusion • “Includes”รวมถึง • “Excludes”ไม่รวมถึง • ในกรณีที่ ‘Excludes”จะวงเล็บบอกว่า • โรคหรือภาวะที่ไม่รวมถึงนั้นใช้รหัสใด Chronic renal failure Includes: Chronic uraemia Diffuse sclerosing glomerulonephritis Excludes: Chronic renal failure with hypertension (I12.0) N18
And • มีความหมายว่า “and/or” เช่น • A18.0 Tuberculosis of bones and joints • อาจหมายความได้ 3 รูปแบบ คือ • 1. Tuberculosis of bones • 2. Tuberculosis of joint • 3. Tuberculosis of bones and joint
NOS • ย่อมาจาก “not otherwise specified” • แปลว่า “มิได้ระบุรายละเอียดนอกเหนือจากนี้” • ใช้กำกับคำเรียกชื่อโรคหรือรหัสโรคที่ • “กำกวมไม่มีรายละเอียดที่ควรจะมี” A04.9 Bacterial intestinal infection, unspecified Bacterial enteritis NOS
เครื่องหมาย # ใช้กำกับหน้ารหัสหรือชื่อโรคที่เพิ่มขึ้นใน ICD-10-TM เช่น A91 Dengue haemorrhagic fever # A91.0 Dengue haemorrhagic fever with shock # A91.1 Dengue haemorrhagic fever without shock # A91.9 Dengue haemorrhagic fever, unspecified A63.0 Anogenital (veneral) warts #Anogenital condyloma acuminatum
ทำไมต้องกลับไปตรวจสอบกับ ICD-10เล่มตารางการจัดกลุ่มโรคอีก ?
บางโรคใช้รหัสรวม • รหัสรวม หมายถึง รหัสที่มีความหมายครอบคลุม • โรคมากกว่า 1 โรค • หากพบว่าสามารถใช้รหัสเดียวครอบคลุมโรค • 2 โรค ให้ใช้รหัสรวมรหัสเดียวนั้นเสมอ I05.2 Mitral stenosis with insufficiency J85.1 Abscess of lung with pneumonia K80.0 Calculus of gallbladder with acute cholecystitis N20.2 Calculus of kidney with calculus of ureter N70.0 Acute salpingitis with oophoritis Q37.9 Cleft lip with cleft palate
Calculus (นิ่ว) • ผู้ป่วยเป็นนิ่วในท่อไต(calculus of ureter) และในไต(calculus of kidney)
Bronchitis บางโรครหัสเปลี่ยนตามช่วงอายุ • รหัสขั้นต้นที่ได้จากหนังสือดรรชนีคือรหัส J40 (เนื่องจากไม่ระบุว่าเป็น Bronchitis ชนิดใด) • แต่หากตรวจสอบรหัสจากหนังสือ ICD-10 เล่มที่ 1 จะพบกฎการใช้รหัส J40 ปรากฏอยู่ใน คำอธิบายของรหัสดังกล่าว
ตรวจสอบรายละเอียดจากICD-10 เล่มตารางการจัดกลุ่มโรคเพื่อเลือกรหัสที่เหมาะสมกรณี“มีรหัสซ่อนอยู่”
การเติมรหัสให้ครบถ้วนการเติมรหัสให้ครบถ้วน • รหัสในตำแหน่งที่ 4 หรือ 5 ของ ICD-10 : - เป็นรหัสที่มีลักษณะ “แอบซ่อนอยู่” - ไม่ปรากฏภายใต้กลุ่มรหัสนั้นๆ - แต่มีเครื่องหมายวงเล็บสี่เหลี่ยม [ ] ที่จะทำหน้าที่ ชี้แนะในการค้นหาข้อมูลรหัส • พบลักษณะรหัสย่อยที่ซ่อนอยู่นี้ ได้ในรหัสหลายหมวด : - หมวดเบาหวาน - รหัสตำแหน่งของโรคกล้ามเนื้อและกระดูก - รหัสสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บ
วงเล็บ [ ] กรณีที่ 1ใช้ระบุคำพ้องที่มีความหมายเดียวกัน A30 Leprosy [Hansen’s disease] กรณีที่ 2ใช้อ้างอิงบันทึกที่ได้บันทึกไว้ก่อนแล้วที่อื่น C00.8 Overlapping lesion of lip [See note 5 at the beginning of this chapter] กรณีที่ 3ใช้อ้างอิงกลุ่มรหัสย่อยของรหัสนั้นที่ได้บันทึกไว้ที่อื่น K27 Peptic ulcer, site unspecified [See before K25 for subdivisions]
Non-insulin Dependent Diabetes Mellitus เบื้องต้นเปิดดรรชนีได้ รหัส E11.-
รหัสโรคที่สมบูรณ์จะเป็นรหัสE11.9รหัสโรคที่สมบูรณ์จะเป็นรหัสE11.9
รหัสตำแหน่งโรคกล้ามเนื้อและกระดูกใน ICD-10 บทที่ 13
แพทย์วินิจฉัยStaphylococcal Arthritis Right Knee