270 likes | 443 Views
ก ารดำเนินงานของคณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพ ด้านการเกษตร : ปัญหาและอุปสรรค. เบญจวรรณ จำรูญพงษ์ กองคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร. ประเทศไทย : ความปลอดภัยทางชีวภาพด้านพืช. 22 ม.ค. 36 คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัย ทางชีวภาพ
E N D
การดำเนินงานของคณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพด้านการเกษตร :ปัญหาและอุปสรรค เบญจวรรณ จำรูญพงษ์กองคุ้มครองพันธุ์พืชกรมวิชาการเกษตร
ประเทศไทย :ความปลอดภัยทางชีวภาพด้านพืช • 22 ม.ค. 36 คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัย ทางชีวภาพ • 15 ธ.ค. 36 คณะกรรมการกลางด้านความปลอดภัย ทางชีวภาพด้านเกษตร • 18 ต.ค. 42 มติ คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ (กนศ.)
มติ คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (กนศ.) • ห้ามการนำเข้ามาเพาะปลูกในเชิงพาณิชย์ • อนุญาตให้นำเข้าเฉพาะเพื่อทดลองวิจัยเท่านั้น • ใช้ พรบ. กักพืช พ.ศ. 2507 กำกับดูแล
สถานภาพด้านกฎหมาย • พรบ กักพืช พ.ศ. 2507 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พรบ. กักพืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 : กำกับดูแล การนำเข้าพืชที่เป็น GMOsเพื่อการทดลองวิจัยเท่านั้น • พรบ. คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 : พืช GMOs ที่จะขอรับการคุ้มครองเป็นพันธุ์พืชใหม่จะต้อง ผ่านการประเมินความปลอดภัยทางชีวภาพ ต่อสิ่งแวดล้อม • พรบ.วัตถุอันตรายพ.ศ. 2535 : การนำเข้าหรือนำผ่านจุลินทรีย์ GMOs
สถานภาพด้านกฎหมาย • พรบ. การส่งออกไปนอกและนำเข้ามาใน ราชอาณาจักร ซึ่งสินค้า พ.ศ. 2522 : กำกับ ดูแล การนำเข้าพืชที่เป็น GMOs • ที่ใช้เป็นอาหารสำเร็จรูป • ข้าวโพดและถั่วเหลืองที่ใช้เป็นวัตถุดิบ • พรบ. อาหาร พ.ศ. 2522 : กำกับ ดูแล ตรวจสอบ วิเคราะห์ และออกใบรับรองสินค้าอาหารและ ผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปแล้ว
การดำเนินงานของกรมวิชาการเกษตรการดำเนินงานของกรมวิชาการเกษตร • พรบ กักพืช พ.ศ. 2507 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พรบ. กักพืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 : • ป้องกัน “อันตราย” จาก โรค แมลง และศัตรูพืชที่ร้ายแรง มิให้เข้ามาแพร่ระบาดในประเทศ จากการติดเข้ามากับพืช และผลิตผลพืชที่นำเข้ามาจากต่างประเทศ • พืชตัดต่อสารพันธุกรรม เป็น “สิ่งต้องห้าม” ตาม พรบ. • มาตรการด้านการนำเข้า • มาตรการด้านการส่งออก
การนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมการนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม • ประกาศ กษ เรื่อง กำหนดพืชจากแหล่งที่กำหนดเป็น สิ่งต้องห้าม ข้อยกเว้น และเงื่อนไข ฯ ประกาศ ณ วันที่ 17 มี.ค. 43: รายชื่อพืช 40 ชนิดเป็นสิ่งต้องห้าม • ประกาศ กษ ณ วันที่ 14 ต.ค. 46 เพิ่มเติมอีก 49 ชนิด • ประกาศกรมฯ เรื่อง กำหนดแนวทางปฏิบัติในการ ขออนุญาตนำเข้าหรือนำผ่าน ซึ่งสิ่งต้องห้าม ฯ ประกาศ ณ วันที่ 7 มี.ค. 44 • คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพด้านการเกษตร กรมวิชาการเกษตร
ตัวอย่างพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมที่เป็นสิ่งต้องห้ามตัวอย่างพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมที่เป็นสิ่งต้องห้าม
ตัวอย่างพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมที่เป็นสิ่งต้องห้ามตัวอย่างพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมที่เป็นสิ่งต้องห้าม
แผนภูมิขั้นตอนการขออนุญาตนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมแผนภูมิขั้นตอนการขออนุญาตนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม ยื่นคำขออนุญาตนำเข้า (แบบ พ.ก.1) ตรวจสอบเอกสารหลักฐานประกอบคำขอ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปเสนอ ความเห็น : อนุญาต/ไม่อนุญาต : คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพด้านการเกษตรเสนอความเห็นต่ออธิบดีกรมวิชาการเกษตร อนุญาตให้นำเข้า (แบบ พ.ก.2) ไม่อนุญาตให้นำเข้า นำเข้า
แผนภูมิขั้นตอนการนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมแผนภูมิขั้นตอนการนำเข้าพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม พืชที่ได้รับอนุญาตให้นำเข้า ต้องมีใบรับรองปลอดศัตรูพืช แจ้งนำเข้าก่อน 60 วัน นำเข้าได้ทางด่านตรวจพืช 3 ด่าน 1. ดพ. ท่าเรือกรุงเทพ 2. ดพ. ไปรษณีย์ 3. ดพ. ท่าอากาศยานกรุงเทพ หีบห่อสิ่งต้องห้ามส่งตรงถึงอธิบดีฯ ตรวจสอบโรคศัตรูพืชที่สำคัญทางกักกันพืช
แผนภูมิขั้นตอนการศึกษาทดลองพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมแผนภูมิขั้นตอนการศึกษาทดลองพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม ผู้รับอนุญาตให้นำเข้าสิ่งต้องห้าม เสนอแผนการทดลองในโรงเรือน/ในแปลงทดลอง คณะทำงานตรวจสอบความปลอดภัยทางชีวภาพภาคสนาม ติดตาม/ตรวจสอบ/ให้คำแนะนำด้านการจัดการ ทดลองและรายงานสรุปผลการดำเนินงาน คณะอนุกรรมการประเมินผลและวิเคราะห์ความเสี่ยงทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ พิจารณา รายงานสรุปผลการตรวจสอบวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ เสนอความเห็นต่อกรมวิชาการเกษตร คณะกรรมการความปลอดภัยทางชีวภาพด้านการเกษตร เสนอข้อคิดเห็นว่าสมควรยกเลิกพืชนั้น ๆ จากการเป็นสิ่งต้องห้าม หากเห็นว่ามีความปลอดภัยทางชีวภาพ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร คณะกรรมการกักพืช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณากำหนดยกเลิกการเป็นสิ่งต้องห้าม
แผนภูมิขั้นตอนการศึกษาทดลองพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรมแผนภูมิขั้นตอนการศึกษาทดลองพืชที่ได้รับการตัดต่อสารพันธุกรรม ผู้รับอนุญาตให้นำเข้าสิ่งต้องห้าม เสนอแผนการทดลองใน โรงเรือน/ในแปลงทดลอง คณะทำงานตรวจสอบความปลอดภัย ทางชีวภาพภาคสนาม ติดตาม/ตรวจสอบ/ให้คำแนะนำ ด้านการจัดการทดลองและ รายงานสรุปผลการดำเนินงาน
คณะอนุกรรมการประเมินผลและวิเคราะห์คณะอนุกรรมการประเมินผลและวิเคราะห์ ความเสี่ยงทางด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ พิจารณา รายงานสรุปผลการตรวจสอบวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ เสนอความเห็นต่อกรมวิชาการเกษตร คณะกรรมการความปลอดภัย ทางชีวภาพด้านการเกษตร
เสนอข้อคิดเห็นว่าสมควรยกเลิกพืชนั้น ๆ จากการเป็นสิ่งต้องห้าม หากเห็นว่ามีความปลอดภัยทางชีวภาพ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร คณะกรรมการกักพืช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พิจารณากำหนดยกเลิกการเป็นสิ่งต้องห้าม
แนวทางการทดสอบเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพแนวทางการทดสอบเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ • ขั้นตอนที่ 1: -> ภายในโรงเรือน/ห้องปฏิบัติการ ปิดมิดชิดอย่างน้อย 1 ฤดูปลูก • ขั้นตอนที่ 2: ต้องผ่านขั้นตอนที่ 1 ->แปลงทดลอง ขนาดเล็กที่ควบคุมสภาพ อย่างน้อย 1 ฤดูปลูก • ขั้นตอนที่ 3: ต้องผ่านขั้นตอนที่ 1 และ 2 ->สภาพแปลงใหญ่
ศึกษาผลกระทบ • การเปลี่ยนแปลงลักษณะด้านสัณฐานวิทยาของพืช • ระบบสืบพันธุ์และการขยายพันธุ์ • การเป็นวัชพืช • ผลกระทบต่อวัชพืชที่อยู่ข้างเคียงและพืชปลูกตาม • จุลินทรีย์ในดิน • แมลงและสิ่งมีชีวิตอื่น • การผสมข้าม • การศึกษาอื่นๆ ตามความเหมาะสม
พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย
พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย
พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย
พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย
พืช GMOs ที่ได้รับอนุญาตและนำเข้ามาเพื่อการทดลองวิจัย
ปัญหาและอุปสรรค ด้านนโยบาย • มติคณะรัฐมนตรี 3 เมษายน 2544 • ยุติการทดสอบในไร่นา • กฏหมายว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพแห่งชาติ
ปัญหาและอุปสรรค ด้านการบังคับใช้กฎระเบียบ • สับปะรดดัดแปลงพันธุกรรม สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล นครศรีธรรมราช • 19 มีนาคม 2545 ยื่นเรื่องขออนุญาต • 27 มีนาคม 2545 อนุญาตนำเข้า เป็น “สิ่งกำกัด” • 14 ตุลาคม 2546 ประกาศกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เป็น “สิ่งต้องห้าม”
ปัญหาและอุปสรรค ด้านการยอมรับของสาธารณชน • ทำไมต้องพืชดัดแปลงพันธุกรรม ? • ต้านทานต่อสารกำจัดศัตรูพืช จริงหรือ ? • คุณค่าทางโภชนาการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ? • ปลอดภัยต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ?