560 likes | 893 Views
สำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์. ประเด็น. โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปี 2556 โครงการสัตวแพทย์พระราชทานในพระราชดำริสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคระบาดสัตว์ กรมปศุสัตว์ โครงการจ้างเหมาบริการงานตรวจป้องกันโรคสัตว์ในตำบล
E N D
สำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์
ประเด็น • โครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าประจำปี 2556 โครงการสัตวแพทย์พระราชทานในพระราชดำริสมเด็จ • พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ • โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคระบาดสัตว์ • กรมปศุสัตว์ • โครงการจ้างเหมาบริการงานตรวจป้องกันโรคสัตว์ในตำบล • (ปศุสัตว์ตำบล)
นโยบายการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้านโยบายการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ดำเนินการภายใต้ • แผนยุทธศาสตร์กำจัดโรคพิษสุนัขบ้าให้หมดไป ปี พ.ศ. 2563 • หลักเกณฑ์การสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า • สภาวะโรคในคนและในสัตว์ • การฉีดวัคซีนสร้างภูมิคุ้มโรคให้กับสัตว์ • การควบคุมประชากรสุนัขจรจัด • การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ • บันทึกความร่วมมือการกำจัดโรคพิษสุนัขบ้า (MOU) ปี พ.ศ. 2555
เป้าหมายการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าเป้าหมายการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า
กลยุทธ์ 1: กำหนดเป็นตัวชี้วัดของปศุสัตว์จังหวัด 2556 :ร้อยละของอปท.ที่ดำเนินการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ให้เป็นระดับ B ขึ้นไป • ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า • ยังพบสัตว์เป็นโรคพิษสุนัขบ้า • ขึ้นทะเบียนสุนัขและแมวได้อย่างน้อย 80% • ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้อย่างน้อย 80% เป้าหมาย:80 % ของอปท.(เทศบาล/อบต.) ทั้งหมดของจังหวัด
x เป้าหมาย 40 %
กลยุทธ์ 2 : มีการสำรวจจำนวนท้องถิ่นเข้าร่วม • อปท.เป็นศูนย์กลางในการดำเนินงาน • กรมปศุสัตว์ได้สำรวจจำนวนอปท.ที่เข้าร่วมโครงการรณรงค์ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า โดย อปท.สนับสนุนงบประมาณ เพื่อดำเนินการตามกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ • การฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า • การขึ้นทะเบียนสุนัข-แมว • การประชาสัมพันธ์ • การออกข้อบัญญัติและการบังคับใช้ • การควบคุมประชากรสุนัข ฉีดยาคุม ผ่าตัดทำหมัน • จัดหาสถานที่รับเลี้ยงสุนัขที่เจ้าของไม่สามารถเลี้ยงได้
การติดตามประเมินผล การประเมินพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า • วัตถุประสงค์: ทุกจังหวัดรู้สภาวะพื้นที่ของตัวเอง • เป้าหมาย: ท้องถิ่น (อบต./เทศบาลตำบล/เทศบาลเมือง/เทศบาลนคร) • เครื่องมือ: หลักเกณฑ์การประเมินการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า (23 ข้อ) • ผู้ประเมิน:ปศุสัตว์อำเภอ/ปศุสัตว์จังหวัด • ระยะเวลา:รายงานกรมทุกเดือน (เริ่มเดือนมกราคม 2556) • การรับรอง:ปศุสัตว์จังหวัด/สาธารณสุขจังหวัด ประกาศรับรองท้องถิ่นปลอดโรค กรมปศุสัตว์/กรมควบคุมโรค/เขต/สคร. ประกาศรับรองจังหวัดปลอดโรค
หลักเกณฑ์การประเมินการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้าหลักเกณฑ์การประเมินการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า http://www.dld.go.th/dcontrol/th/index.php/ rabies/rabies/2203-rabiesfreezone2556.html
สรุปแนวทางการดำเนินงานปีงบประมาณ 2556 ปี55 ปี56 KPI 1 KPI 2 พย. ตค. ธค. มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. RFZ =? RFZ RFZ A=? A =80% =40% A B=? B B C=? C=60% C=20% ประเมินรายเดือน ใช้ฐานข้อมูลยอดสัตว์/Vac. Cov. ของปี 2555 เปรียบเทียบ % ใช้ฐานข้อมูลยอดสัตว์/Vac. Cov. ของปี 2556 เปรียบเทียบ % ระบบ TRN มีค.
จำนวนตัวอย่างที่ตรวจพบโรคพิษสุนัขบ้าจำนวนตัวอย่างที่ตรวจพบโรคพิษสุนัขบ้า ลดลง 40% ลดลง 17% ปี 2555 พบโรค 182 ตย. ในพื้นที่ 32 จว.
มาตรการเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้ามาตรการเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้า 1. การป้องกันโรค • ขอรับการสนับสนุนวัคซีนป้องกันโรคจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • กรมปศุสัตว์สนับสนุนวัคซีนกรณีควบคุมโรค • ควบคุมจำนวนประชากรสัตว์โดยเน้นการผ่าตัดทำหมัน • รับเลี้ยงสุนัขที่เจ้าของมีความจำเป็นไม่สามารถเลี้ยงต่อได้ เพื่อป้องกันการนำไปปล่อยในที่สาธารณะ • ร่วมกับหน่วยงานสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประชาสัมพันธ์เตือนภัยให้กับประชาชนอย่างต่อเนื่อง • พบสัตว์แสดงอาการสงสัยเป็นโรคพิษสุนัขบ้าให้เก็บตัวอย่างส่งตรวจทุกครั้ง
2. การควบคุมโรค ณ จุดเกิดโรค (เมื่อทราบผล Lab) • สัตว์กลุ่มเสี่ยง • ฉีดวัคซีนป้องกันโรครอบจุดเกิดโรค (Ring Vaccination) ครอบคลุมรัศมีอย่างน้อย 3 กม. ตัวละ 1 ครั้ง และกระตุ้นซ้ำอีก 1 ครั้งเมื่อครบ 1 เดือน • มาตรการ • สอบสวนโรค • ประกาศเขตโรคระบาดสัตว์ ตามกฎหมายโรคระบาดสัตว์ • แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขอความร่วมมือควบคุมโรค • ประชาสัมพันธ์ เตือนภัยประชาชน • ขึ้นทะเบียนสัตว์ • บังคับใช้กฎหมายอื่นๆ เช่น เทศบัญญัติ 3 km. • สัตว์สัมผัสโรค • แยกกักสัตว์ • ฉีดวัคซีน 4x4 • (4เข็มห่างกันเข็มละ4วัน) • เฝ้าระวังโรค 6 เดือน ต.หัวโพธิ์
มาตรการเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้ามาตรการเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้า การดำเนินคดีกับผู้ต้องหาลักลอบค้าสุนัข 1. ความผิดตามพระบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ.2499 มาตรา 17 ลักลอบเคลื่อนย้ายสุนัขเข้าเขตสงสัยว่าจะมีโรคระบาดชนิด โรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ประกาศ ต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา 21 ทำการค้าสุนัขโดยไม่ได้รับอนุญาตจากนายทะเบียน ต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 2. ความผิดตามพระราชบัญญัติโรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ. 2535 มาตรา 6เจ้าของหรือผู้ควบคุมสุนัขไม่จัดให้สุนัขได้รับการฉีดวัคซีนป้องกัน โรคพิษสุนัขบ้า ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองร้อยบาท 3. ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา381 กระทำการทารุณต่อสัตว์หรือฆ่าสัตว์โดยให้ได้รับทุกขเวทนา อันไม่จำเป็น ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
รอบ 1 รอบ 2
โครงการสัตวแพทย์พระราชทาน ในพระราชดำริสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคระบาดสัตว์ กรมปศุสัตว์
หลักการเหตุผล เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมในการรับสถานการณ์การเกิดโรคระบาดสัตว์ และตอบสนองต่อการสอบสวนและควบคุมโรคอย่างทันท่วงที ภารกิจ “ควบคุมโรคระบาดสัตว์” พัฒนาทีมสอบสวนโรคระบาดสัตว์ กรมปศุสัตว์
จุดประสงค์ ๑. พัฒนาทีมสอบสวนโรคระบาดสัตว์กรมปศุสัตว์ ในระดับจังหวัด เขต และส่วนกลาง ๒. พัฒนาวิทยากรด้านการสอบสวนโรคระบาดสัตว์ ในระดับเขต ๓. ส่งเสริมการทำงานของทีมสอบสวนโรคระบาดสัตว์
ขั้นตอนการดำเนินงานโครงการขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ
สิ่งสนับสนุน คู่มือฝึกอบรม การสอบสวนโรคระบาดสัตว์ สำหรับ ทีมสอบสวนโรค คู่มือปฏิบัติงาน ทีมสอบสวนโรคระบาดสัตว์ กรมปศุสัตว์ เสื้อทีมสอบสวนโรค กรมปศุสัตว์
โครงการจ้างเหมาบริการงานตรวจป้องกันโรคสัตว์ในตำบล (ปศุสัตว์ตำบล)
หลักการและเหตุผล • พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังโรคระดับตำบล • ถ่ายโอน - สร้างระบบควบคุมป้องกันโรค • ในระดับตำบลอย่างยั่งยืน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกิดเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านปศุสัตว์ในระดับตำบล 2. มีประสิทธิภาพในการเฝ้าระวังโรคสัตว์มากขึ้น ส่งผล ให้เกิดความเชื่อมั่นต่อผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ 3. ประชาชนมั่นใจในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างสัตว์และคน 4. ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ 5. ผู้บริโภคมั่นใจในคุณภาพสินค้าปศุสัตว์ที่มาจากสัตว์ ที่มีสุขภาพดี
จำนวน อปท.ทั่วประเทศ 7,415 แห่ง
หลักการตามหนังสือด่วนที่สุด กษ0610/ว669 ลง 10 ม.ค. 56 • ปศต. 2,073 อัตราเดิม ในวันที่ 31 มีนาคม 2556 จะสิ้นสุดการจ้าง • จะให้อปท.จ้างต่อเนื่องแทนกรมปศุสัตว์ • ให้จังหวัดส่งสำเนาหลักฐานการจ้างเหมาของอปท. • 2.1 เพื่อกรมฯ จะได้สนับสนุนงบประมาณไปขยายผลในตำบลอื่นที่ อปท. • ยังไม่มีการจ้าง ในอัตรา 1:1 • 2.2 ตำบลที่มีความจำเป็นเหมาะสมและจังหวัดได้เรียงลำดับความสำคัญไว้ • 3. อปท. อื่น นอกจาก 2,073 ตำบลเดิม • 3.1 ส่งหลักฐานการจ้างเหมาและหรือการมอบหมายงานด้านปศุสัตว์(ปศต.) • 3.2 กรมปศุสัตว์จะสนับสนุนเหมือนข้อ 2
สรุปประเด็น : กรณีไม่อยู่ในหลักการข้อ 2,3 ตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ กษ 0610/ว 669 ลง 10 มกราคม 2556
1. ไม่มีสำเนาหลักฐานการจ้างจาก อปท. 2. อปท.มีหนังสือยืนยันว่าจะจ้างตั้งแต่ 1 เม.ย. 56 3. คำสั่งมอบหมายงานด้านปศุสัตว์ให้ข้าราชการ ที่ปฏิบัติงานใน อปท. เช่น นักวิชาการเกษตร 6 จนท.วิเคราะห์นโยบายและแผน 6 พยาบาลวิชาชีพ 6 ปลัดอบต.ฯลฯ
การสนับสนุนงบประมาณให้จังหวัดที่อปท.จ้างแทนกรมปศุสัตว์การสนับสนุนงบประมาณให้จังหวัดที่อปท.จ้างแทนกรมปศุสัตว์ ไปดำเนินการในตำบลที่ อปท. ยังไม่มีการจ้าง (1 เม.ย. - 30 ก.ย. 56) หมายเหตุ 1. ข้อมูล ณ วันที่ 18 มกราคม 2556 2. คนละ 40,000 บาท แยกเป็นค่าจ้าง 6 เดือนๆ ละ 5,000 บาท และค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ 10,000 บาท
หนังสือด่วนที่สุด ที่ กษ 0610.02/ว 2919 ลงวันที่ 5 ก.พ. 56 เรื่องการดำเนินงาน โครงการจ้างเหมาบริการงานตรวจป้องกัน โรคสัตว์ในตำบล (ปศุสัตว์ตำบล) ถึงปศุสัตว์เขต 1-9 เพื่อแจ้งปศุสัตว์จังหวัดดำเนินการ
1. ตั้งแต่ 1 เม.ย. 56 ถึง 30 ส.ค. 56 1.1 หาก อปท. จ้างแทนกรมปศุสัตว์ 1.2 และหรือทุกหน่วยงานช่วยกันผลักดันให้อปท. สามารถบรรจุในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณ ประจำปี 2557(ภายใน 15 ส.ค. 56) - ใช้หลักการ 1:1 ตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ กษ 0610/ว 669 ลง 10 ม.ค. 56