280 likes | 453 Views
สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง. เนาวรัตน์ บุญรักษ์. งานวิจัย ต่างประเทศ 5 เรื่อง งานวิจัย ไทย 5 เรื่อง. งานวิจัยด้านการส่งเสริมสุขภาพ. ขอบเขตการนำเสนอ.
E N D
สรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสรุปงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนาวรัตน์ บุญรักษ์
งานวิจัย ต่างประเทศ 5 เรื่องงานวิจัย ไทย 5 เรื่อง งานวิจัยด้านการส่งเสริมสุขภาพ ขอบเขตการนำเสนอ
การใช้ระบบข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์และสถิติในการสำรวจถึงความต้องการการบริการทางการแพทย์แบบเร่งด่วน ของเมืองหนึ่งในซัดเบอรี่ เมืองออนตาริโอ วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ คือ การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง EMS ที่เป็นการเรียกใช้บริการทางการแพทย์แบบเร่งด่วนกับสถิติจำนวนประชากร ปัจจัยเศรษฐกิจและสังคม ภูมิศาสตร์ (โครงสร้างของเมือง) โดยทำการวิจัยถึงเมืองหนึ่งใน ออนตาริโอ ประเทศแคนาดา ส่วนหนึ่งของการวิจัยในพื้นที่ที่มีความต้องการ EMS นั้นพบว่าความสัมพันธ์ดังกล่าวเป็นแบบสมการถดถอย อย่างไรก็ตามความแตกต่างกันก่อนการทำงาน กล่าวคือเกิดมีความสัมพันธ์กันเองโดยอัตโนมัติในการเรียกร้องความเป็นอิสระเพื่อกลับคืนที่เหมือนเดิม การใช้ระบบข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์หรือข้อมูลของ EMS คือ โครงสร้างทางธรณีวิทยา ซึนำไปเป็นข้อมูลสำมะโนประชากรจำนวน 1996 ครัวเรือน โปรแกรมการวิเคราะห์ได้นำมาใช้ในโครงสร้าง และการนำเสนอเกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค ภายหลังจากการสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับความถดถอยในทีละขั้นและลักษณะเฉพาะของความสัมพันธ์กันเองโดยอัตโนมัติในการอธิบายถึงความหลากหลาย การผสมผสานกับรูปแบบของความถดถอย ความหลาหลาย กล่าวคือ จำนวนร้อยละของประชากรที่อาศัยอยู่ตามลำพัง และลักษณะความล้าหลังของ จำนวนร้อยละของผู้อาศัย ในอพาร์ทเมนท์ ความล้าหลังของจำนวนประชากรที่มีอายุระหว่าง 20-64 ปี จำนวน52 % ของความหลากหลายของ ในการใช้บริการ EMS ต่อ ประชากร 1,000 คน ความชัดเจน ในความต้องการถึงความหลากหลายของบริการ EMS นั้นมาจาก สถานที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งที่อยู่ในชุมชน และความหลากหลายที่มีส่วนน้อย คือ ความสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับสถิติประชากร และปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจและสังคม การพัฒนายุทธวิธีของแหล่งข้อมูลที่แท้จริงที่สามารถจัดเตรียมไว้ต่อความจำเป็นในการให้บริการ EMS รวมทั้ง การป้องกันการบาดเจ็บและการส่งเสริมด้านสุขภาพได้กลายเป็นเป้าหมายของกลุ่มและพื้นที่ที่จำเป็นต่อการช่วยเหลือของการวิเคราะห์ถึงความต้องการของบริการEMS Lefebvre, Marc. (2004) Using GIS and spatial statistics to explore and model demand for emergency medical services in the city of Sudbury, Ontario. Wilfrid Laurier University (Canada). Canada.
การใช้การการทำแผนผังเพื่อการประเมินถึงการปฏิบัติงานในการส่งเสริมด้านสุขภาพและการริเริ่มการป้องกันโรคภัยไข้เจ็บในโบสถ์African American การวิจัยนี้เกี่ยวกับการทำแผนผังโบสถ์ African American โบสถ์ที่ได้เลือก 2 โบสถ์ที่จัดว่าอยู่ในพื้นที่ด้อยพัฒนาและอยู่ในละแวกเดียวกับ New Heaven ที่ถูกควบคุมในด้านจิตใจ การบริการทางสังคม การส่งเสริมด้านสุขภาพและการป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ (HPDP) และสถานพยาบาลของโบสถ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การจัดทำแผนผังที่ถูกควบคุม 2 ระดับของโบสถ์ African American คือ 1. การประเมินการจัดการด้านทรัพย์สินของโบสถ์ 2. การประเมินด้านทรัพย์สินส่วนบุคคลของสมาชิกของโบสถ์ สำหรับองค์กร บาทหลวงหลายท่านได้รายงานถึงแหล่งที่มาที่หลากหลายเพื่อเป็นฐานข้อมูลของโบสถ์นั้นคือ HPDP แต่ได้รับความสนใจน้อยในปัจจุบัน สมาชิกของโบสถ์ได้ให้ความสนใจในเรื่องจิตใจและทักษะการบริการสังคม และสนใจในฐานข้อมูลHPDP ของโบสถ์แต่ไม่สนใจที่จะเข้าร่วม ดังนั้นในปัจจุบัน จึงมีศาสนิกชนจำนวนน้อยที่สมัครใจเข้าช่วยก่อตั้งโบสถ์แบบ HPDP ท่ามกลางโบสถ์ที่เป็นตัวแทน Kim,Paulina ( 2004 ) Using assets mapping to assess capacity for holistic health promotion and disease prevention initiatives among African American churches. Southern Connecticut State University, United States
สภาพแวดล้อมในการทำงาน ความพึงพอใจในหน้าที่การงาน และสุขภาพของลูกจ้างใน สถานศึกษา การวิจัยนี้ได้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในการทำงาน ความพึงพอใจในหน้าที่การงาน และสุขภาพในสถานศึกษา การวิจัยได้อธิบายและเปรียบเทียบระหว่างนักวิชาการ กับกลุ่มผู้บริหาร ในด้านสภาพแวดล้อมการทำงาน ความพึงพอใจในหน้าที่การทำงาน และด้านสุขภาพ และได้ควบคุมในบางส่วนเพื่อการวิเคราะห์ที่สัมพันธ์กันคือ ( อายุ เพศ รายได้ การศึกษา ) เพื่อที่จะศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างกัน พบว่าหน้าที่การงานมีความสัมพันธ์อย่างมากต่อสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการสนับสนุนการศึกษาดังกล่าวคือ ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในหน้าที่การทำงานและสุขภาพ ในด้านจิตวิทยาสังคมพบว่าความสัมพันธ์ทางด้านความพึงพอใจหน้าที่การทำงานและสุขภาพจิตนั้นสำคัญแต่ไม่สัมพันธ์กับสุขภาพทางร่างกาย หน้าที่การทำงานมีความสัมพันธ์กับสุขภาพจิตแต่ไม่สัมพันธ์กับสุขภาพทางร่างกายเช่นกัน ผลของการวิจัยในครั้งนี้ชี้ให้เห็นถึงการส่งเสริมด้านสุขภาพในที่ทำงานเป็นสิ่งจำเป็นที่ได้รับการยอมรับว่าสุขภาพของลูกจ้างจะดีขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมด้วยเช่นกัน Zilinski, Joyce K. (2004). Work environment, job satisfaction and employee health in an academic setting. University of Alberta. Canada
ความร่วมมือของโรงเรียนนำร่องในโครงการวิจัยเพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพร่างกาย ทัศนคติส่วนบุคคล และพฤติกรรมการรับประทาน ในสมัยก่อนการบริการด้านสุขภาพจิต ได้ถูกวางแผนไว้เพื่อรักษาในกรณีที่มีปัญหาเกิดขึ้น จิตแพทย์จึงได้เริ่มคิดตระหนักถึงความสำคัญที่จะส่งเสริมและป้องกันองค์ประกอบที่สำคัญ การอยู่ให้ห่างจากความเจ็บป่วยที่มีอิทธิพลมาจากการขาดการควบคุมด้านการบริโภค ประเด็นนี้ได้มีการพิสูจน์และโต้แย้งกันขึ้น ผู้ค้นคว้าได้ทำการเขียนวิจารณ์ข้อสรุปของสิ่งที่ได้พิสูจน์กันไปแล้ว และคำแนะนำสำหรับการประเมินค่า การวิจัยนี้เป็นการตรวจสอบถึงความผิดปกติในด้านการวางแผนในการบริโภค เพื่อที่จะเป็นสะพานเชื่อมระหว่างความเชื่อในด้านการป้องกันทางด้านการบริโภค และแนวคิดใหม่ๆ เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การศึกษาวรรณคดีเบื้องต้น หากใช้วิธีการรวมกันทั้งในด้านปริมาณและด้านคุณภาพ กรณีศึกษาประสิทธิภาพของฐานการป้องกัน รูปแบบลักษณะของนักศึกษา ทัศนคติส่วนบุคคล และพฤติกรรมด้านการบริโภค โดยการทดลองให้นักศึกษา ผู้ปกครอง และอาจารย์เข้าร่วมกัน โดยผลที่ได้จะนำไปสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพ โดยให้กลุ่มสังคมเป็นพื้นฐานเพื่อที่จะเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย โดยให้กลุ่มโรงเรียน เป็นตัวแทน Russell-Mayhew, Michelle (Shelly) K . (2003). Collaborative school pilot research project to promote heath body image, personal attitudes, and eating behaviors. University of Calgary. Canada.
การลดน้ำหนักของผู้ใหญ่และความสัมพันธ์ในเรื่องของน้ำหนักตัว : การสำรวจด้านสุขภาพทางโภชนาการและหัวใจในเมืองPeel ปัจจัยที่มีอัตราความเสี่ยงสำหรับโรคที่มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด (CVD) ในผู้ใหญ่ที่มีน้ำหนักเกิน หมายถึงปัญหาสุขภาพประชาชนในแคนนาดา เกี่ยวกับการควบคุมอาหารนิสัยใน การบริโภคเป็นปัจจัยสำคัญในการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวและโรคอ้วน การลดความอ้วนแถบ เมดิเตอเรเนียนคือ การมีลักษณะนิสัยโดยการกินน้ำมันมะกอก,ผลไม้และผัก อาหารที่มีส่วนผสมของข้าวสาลี,ผัก,ปลาและไก่งวง การบริโภคไวน์อย่างพอเหมาะ เป็นตัวบ่งชี้อย่างคร่าวๆ เป็นการ ควบคุมอาหารอย่างฉลาดเป็นระบบ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการเสี่ยงต่อการเป็นโรค CVD น้อยลง การควบคุมอาหารแบบเมดิเตอเรเนียน คือ ได้มีการตรวจสอบอย่างไม่มีรูปแบบโดยเลือกสุ่มจำนวนประชากรจากผู้ใหญ่จำนวน 759 คน อายุ 18-65 ปี ในเมือง Peel สังคมที่มีหลายชนชาติใกล้เคียงกับเมืองโตรอนโต ,ใช้โทรศัพท์สอบถามในการสำรวจ โครงสร้างที่เป็นส่วนประกอบสำคัญ ของคุณสมบัติอาหารที่แสดงให้เห็นอยู่บ่อยๆ ว่ามี อิทธิผลอาหารที่รวมเข้าไปในร่างกายอย่างต่ำ 6 อย่าง และแบบควบคุมอาหารอย่างสูง 2 อย่าง การควบคุมอาหารในระบบ M ได้รับผลสะท้อนอย่างสูงในการบริโภคผลไม้และผัก ,น้ำมันมะกอก และกระเทียม, ปลาและปลาทะเล และที่ไม่เป็นไปตามระบบ M ได้รับผลสะท้อนคืออาหารขยะ ,เนื้อ,ไก่งวง, อาหารที่มีรสหวาน คะแนน M สูงสุดส่วนใหญ่จะเป็นผู้หญิง, ครอบครัวที่มีรายได้สูง,กลุ่มที่มีการศึกษาสูง, อายุมาก อิทธิผลของระบบ M ขึ้นอยู่กับสภาวะน้ำหนัก สัดส่วนของร่างกายที่แสดงออกมาชัดเจน ได้รับการตรวจสอบโดยการวิเคราะห์ความเสื่อมถอยหลายอย่างด้วยกัน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นก่อนสำหรับอิทธิผลของสถิติสังคมประชากร (อายุ,เพศ,การได้รับการศึกษา,รายได้ของครอบครัวและสถานภาพครอบครัว) ระดับคะแนนที่ระบบ M ได้คาดเดาเอาไว้เป็นกลุ่มต่ำสุดของ BMI เป็นกลุ่มที่มีอายุ 40-49 ปีเท่านั้น ผลของการสืบผลได้แนะนำว่า โปรแกรมการประชาสัมพันธ์ด้านสุขภาพเกี่ยวกับหัวใจนั้นควรจะนำไปสู่การลดน้ำหนักได้ดีขึ้น ซึ่งเป็นนิสัยของคนในช่วงอายุนี้เท่ากับเป็นจุดมุ่งหมายของประชากรส่วนใหญ่ Shubair, Mamdouh Mohamed. (2003). Adult dietary patterns and their relationship to body weight status : The Peel nutrition and heart health survey. University of Waterloo. Canada.
การประเมินผลการบริการภายใต้โครงการการประเมินผลการบริการภายใต้โครงการ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : กรณีศึกษา จังหวัดพิษณุโลก อรทัย เขียวเจริญ ( 2546 )
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินผลการบริการภายใต้โครงการ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 4 ด้านคือ * บริบท * ปัจจัยนำเข้า * กระบวนการดำเนินงาน * ผลผลิต
กลุ่มตัวอย่าง * ผู้บริหาร + หัวหน้างาน 25 คน * ผู้ให้บริการ 621 คน * ผู้รับบริการ 1,000 คน * ประชาชนระดับครัวเรือน 450 คน
การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัดส่วน อัตราส่วน
ผลการศึกษา บริบท : ผู้ให้บริการเข้าใจต่อโครงการในระดับดี เห็นด้วยระดับปานกลาง ปัจจัยนำเข้า : งบประมาณไม่เพียงพอ ขาดแคลนบุคลากร กระบวนการดำเนินงาน : การจัดสรรงบประมาณเหมาจ่ายรายหัว มีการจัดตั้ง PCU ร้อยละ 68.18 มีการรับเรื่องราวร้องทุกข์ ร้อยละ 60 ผลผลิต : ประชาชนมีหลักประกันเพิ่มขึ้น เป็นร้อยละ 91.53 : ประชาชนมีการเข้าถึงบริการ ร้อยละ 93.6 : จำนวนผู้ป่วยไปรับบริการ ที่ สถานีอนามัยเพิ่มขึ้น ไปรับบริการที่ โรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลชุมชน ลดลง
พฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของประชาชนในโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า อ.บางกรวย จ.นนทบุรี โดย….สุรศักดิ์ เนียมปาน ( 2544 )
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการของประชาชน กลุ่มตัวอย่าง ประชาชนถือบัตรประเภท 30 บาท จำนวน 631 คน สุ่มจากทะเบียนผู้ถือบัตรทอง
การเก็บข้อมูล : แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล :ไคสแควร์ ผลการศึกษา • ประชาชนไปใช้บริการ ผู้ป่วยนอก ร้อยละ 60.3 เฉลี่ย 2.7 ครั้ง / คน • ผู้ป่วยใน ร้อยละ 0.48 เฉลี่ย 1 ครั้ง / คน • การใช้บริการรักษา+ฟื้นฟูสภาพ มากที่สุด ( ร้อยละ 87.2 ) • ปัจจัยด้านอาชีพ รายได้ ความพึงพอใจการรับรู้สิทธิประโยชน์ ปัจจัย สนับสนุน มีความสัมพันธ์กับการไปใช้บริการสุขภาพ
โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค ที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจทำประกันสุขภาพกับบริษัทประกันภัย กรณีศึกษา : บริษัทไทยประกันชีวิต โดย….สุมาลี ทัศทอง ( 2544 )
วัตถุประสงค์ * ศึกษาหลักการของโครงการ 30 บาท * เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการใช้บริการสุขภาพ ระหว่าง บัตรทอง กับ ประกันชีวิต * เพื่อศึกษาระดับคุณภาพบริการของสถานพยาบาล
ประชากรที่ศึกษา : ประชากรในเขตพระโขนง + เขตตลิ่งชัน กทม. เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม จำนวน 100 ชุด
ผลการศึกษา * ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เพศหญิง สถานภาพโสด รายได้ <20,000 บาท / เดือน * ปัจจัยที่ทำให้ซื้อกรมธรรม์ประกันภัย คือ การคำนึงถึงสุขภาพ ต้องการคุ้มครองสิทธิสูญเสียอวัยวะ+ทุพพลภาพ โรคร้ายแรง ค่ารักษาพยาบาลรายวัน
การรับสารสนเทศ ด้านสิทธิประโยชน์ตามนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของผู้ป่วยที่มารับบริการ : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลชัยภูมิ ปิยนุช ญาติบำรุง ( 2544 )
วัตถุประสงค์ * ศึกษาการรับสารสนเทศของประชาชน * ศึกษาความต้องการสารสนเทศของประชาชน * ปัญหาในการรับสารสนเทศด้านเนื้อหา + สิทธิประโยชน์
กลุ่มตัวอย่าง * ผู้ป่วยที่มารับบริการ PCU โรงพยาบาลชัยภูมิ 200 คน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล * แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล * ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษา * ส่วนใหญ่เพศหญิง อายุ 40 - 49 ปี * ระดับประถมศึกษา อาชีพการเกษตร * รายได้ : เดือน 2,000 - 4,999 บาท / เดือน * รับสารสนเทศด้านเนื้อหาจากสื่อมวลชน คือ โทรทัศน์ * ความต้องการส่วนใหญ่ต้องการจากแหล่งสารสนเทศแหล่งบุคคล * ปัญหาสารสนเทศบุคคล เป็นปัญหาระดับปานกลาง
ความคิดเห็นของผู้ประกันสุขภาพต่อคุณภาพบริการด้านหน้า โรงพยาบาล ดำเนินสะดวก สมพล เนียมหลาง ( 2544 )
วัตถุประสงค์ * เพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อคุณภาพบริการด้านหน้าของผู้ประกันสุขภาพ * เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อคุณภาพบริการระหว่างผู้มีบัตรประกันสุขภาพ บัตรประกันสังคม และผู้สูงอายุ
เครื่องมือที่ใช้ศึกษาเครื่องมือที่ใช้ศึกษา แบบสอบถาม วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล สุ่มตัวอย่างแบบโควต้า จำนวน 370 ราย การวิเคราะห์ข้อมูล * ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน * ANOVA , ANCAVA
ผลการศึกษา * ค่าเฉลี่ยสูงสุด ด้านการให้ความรู้ คำแนะนำให้คำปรึกษา ( ร้อยละ 77.5 ) * ความคิดเห็นระหว่างผู้มีบัตรประกันสุขภาพ บัตรประกันสังคม ผู้สูงอายุ มีความคิดเห็นแตกต่างกัน