120 likes | 634 Views
คริพโตกราฟี (Cryptography). คริพโตกราฟี (Cryptography) เป็นการรวมหลักการและกรรมวิธีของการแปลงรูปข้อมูลข่าวสารต้นฉบับ ให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลข่าวสารที่ได้ผ่านการเข้ารหัส และการนำข่าวสารนี้ไปใช้งาน จะต้องมีการแปลงรูปใหม่ เพื่อให้กลับมาเป็นข้อมูลข่าวสารเหมือนต้นฉบับเดิม.
E N D
คริพโตกราฟี (Cryptography) คริพโตกราฟี (Cryptography) เป็นการรวมหลักการและกรรมวิธีของการแปลงรูปข้อมูลข่าวสารต้นฉบับ ให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลข่าวสารที่ได้ผ่านการเข้ารหัส และการนำข่าวสารนี้ไปใช้งาน จะต้องมีการแปลงรูปใหม่ เพื่อให้กลับมาเป็นข้อมูลข่าวสารเหมือนต้นฉบับเดิม
องค์ประกอบของรหัสลับ • ข้อความต้นฉบับ (Plain text)คือ ข้อมูลต้นฉบับซึ่งเป็นข้อความที่สามารถอ่านแล้วเข้าใจ • อัลกอริทึมการเข้ารหัสลับ (Encryption Algorithm)คือ กระบวนการหรือขั้นตอนที่ใช้ในการแปลงข้อมูลต้นฉบับเป็นข้อมูลที่ได้รับการเข้ารหัส • กุญแจลับ (Key)คือ เป็นกุญแจที่ใช้ร่วมกับ อัลกอริทึมในการเข้ารหัส และถอดรหัส • ข้อความไซเฟอร์ (Ciphertext)คือ ข้อมูลหรือข่าวสารที่ได้รับการเข้ารหัส ทำให้อ่านไม่รู้เรื่อง • อัลกอริทึมการถอดรหัสลับ (Decryption Algorithm)คือ กระบวนการหรือขั้นตอนในการแปลงข้อความไซเฟอร์ให้กลับเป็นข้อความต้นฉบับ โดยอาศัยกุญแจลับดอกเดียวกัน
การจำแนกประเภทของรหัสลับการจำแนกประเภทของรหัสลับ • เทคนิคการแทนที่ (Substitution Techniques) • เทคนิคการสับเปลี่ยน (Transposition Techniques)
การเข้ารหัสลับแบบแทนที่ => ไซเฟอร์แบบเลื่อน • ไซเฟอร์แบบเลื่อน (shift cipher) คือ ให้แทนอักขระของข้อความต้นฉบับแต่ละตัวด้วยอักขระที่อยู่เลื่อนไป K ตำแหน่ง เช่น weapons of mass destruction ZHDSRQV RI PDVV GHVWUXFWLRQ • จากตัวอย่าง K = 3 • K มีความเป็นไปได้กี่คีย์ ? 26 • จงแปลงเป็นตัวเลขจำนวนเต็มโดย a = 0
Love Me Love My Dog ORHN PN ORHN PT GRA การเข้ารหัสลับแบบแทนที่ => ไซเฟอร์แบบแทนที่อักษรเดี่ยว • ไซเฟอร์แบบแทนที่อักษรเดี่ยว (monoalphabetic substitution cipher) คือ การแทนอักขระของข้อความต้นฉบับด้วยอักขระตัวอื่นๆ แต่ห้ามเลือก cipher text ซ้ำ เช่น
การเข้ารหัสลับแบบสับเปลี่ยน => ไซเฟอร์แบบแนวรั้ว • ไซเฟอร์แบบแนวรั้ว (rail fence cipher) คือการเขียนข้อความต้นฉบับทีละอักขระในแนวทแยงตามจำนวนแถว (K ) ที่ระบุไว้ล้วงหน้า • เมื่อครบทุกแถวให้ขยับไปทางขวามือแล้วเริ่มต้นเขียนอักขระทีละแถวใหม่ เช่น “bring me the book” b i g e h b o r n m t e o k • ข้อความไซเฟอร์ที่ได้ BIGEH BO RNM TEOK K = ?2
การเข้ารหัสลับแบบสับเปลี่ยน => ไซเฟอร์แบบคอลัมน์ • ไซเฟอร์แบบคอลัมน์ (columnar transposition cipher) เริ่มต้นด้วยการกำหนดขนาดคอลัมน์ ที่ใช้ในการเข้ารหัส • เขียนข้อความต้นฉบับที่ละแถวลงในเมทริกซ์ ที่มีจำนวนคอลัมน์ ตามกำหนด เช่น “go to the zoo ” • และเลือกใช้กุญแจ 41253
ตัวอย่าง ไซเฟอร์แบบคอลัมน์ ลำดับแถว =>1 2 3 4 5 g o t o t h e z o o key => 4 1 2 5 3 ข้อความไซเฟอร์ OE TZ TO GH OO