1 / 70

สำนักบริหารการทะเบียน

สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง ๕๙ ม. ๑๑ คลอง ๙ ต.บึงทองหลาง อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี. 1. ส่วนการทะเบียนราษฎร. สำนักบริหารการทะเบียน. 2. ส่วนการทะเบียนทั่วไป. 3. ส่วนบัตรประจำตัวประชาชน. 4. ส่วนส่งเสริมการทะเบียนและบัตร. 5. ส่วนบริหารและพัฒนา เทคโนโลยีการทะเบียน.

Download Presentation

สำนักบริหารการทะเบียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักบริหารการทะเบียนสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ๕๙ ม. ๑๑ คลอง ๙ ต.บึงทองหลาง อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี

  2. 1. ส่วนการทะเบียนราษฎร สำนักบริหารการทะเบียน 2. ส่วนการทะเบียนทั่วไป 3. ส่วนบัตรประจำตัวประชาชน 4. ส่วนส่งเสริมการทะเบียนและบัตร 5. ส่วนบริหารและพัฒนา เทคโนโลยีการทะเบียน

  3. ส่วนการทะเบียนทั่วไป ( นายทะเบียนกลาง )

  4. งานทะเบียนที่อยู่ในความรับผิดชอบของงานทะเบียนที่อยู่ในความรับผิดชอบของ ส่วนการทะเบียนทั่วไป มี 8 ทะเบียน 2 งาน 1. ทะเบียนครอบครัว 2. ทะเบียนชื่อบุคคล 3. ทะเบียนพินัยกรรม 4. ทะเบียนนิติกรรม 5. ทะเบียนสัตว์พาหนะ 6. ทะเบียนเกาะ 7. ทะเบียนศาลเจ้า 8. ทะเบียนสุสานและฌาปนสถาน 1) งาน ฌ.ก.น. 2) งาน ฌ.ป.ค.

  5. งานทะเบียนครอบครัว

  6. ประเภทของงานทะเบียนครอบครัวประเภทของงานทะเบียนครอบครัว หมายถึง การจดทะเบียนที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัว โดยมีกฎหมายรับรองและคุ้มครองสิทธิให้ ไม่ว่าจะในฐานะ สามีกับภรรยา หรือบิดา มารดากับบุตร แบ่งออกเป็น 7 ประเภท คือ 1.ทะเบียนการสมรส 2.ทะเบียนการหย่า 3.ทะเบียนการรับรองบุตร 4.ทะเบียนการรับบุตรบุญธรรม 5.ทะเบียนการเลิกรับบุตรบุญธรรม6.ทะเบียนฐานะของภริยา 7.ทะเบียนฐานะแห่งครอบครัว

  7. แบบพิมพ์ คร. 1 คำร้อง คร. 2 ทะเบียนสมรส คร. 3 ใบสำคัญการสมรส คร. 6 ทะเบียนหย่า คร. 7 ใบสำคัญการหย่า คร.11 ทะเบียนรับรองบุตร คร. 14 ทะเบียนรับบุตรบุญธรรม คร. 17 ทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม คร. 20 ทะเบียนฐานะภริยาคร. 22 ทะเบียนฐานะครอบครัว คร. 31 ใบบันทึกต่อ

  8. การสมรสที่สมบูรณ์ ตาม ป.พ.พ. ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขแห่งกฎหมายว่าด้วยการสมรส ต้องแสดงความยินยอมและได้รับความยินยอมตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ต้องได้มีการจดทะเบียนตามกฎหมายแล้ว

  9. 1. เงื่อนไขการสมรส ตาม ป.พ.พ. 1.1 อายุ 17 (1448) 1.2 วิกลจริต (1449) 1.3 ญาติสืบสายโลหิต (1450) 1.4 บุตรบุญธรรม (1451) 1.5 มีคู่สมรสอยู่ (1452) 1.6 หญิงสิ้นสุดการสมรส / 310 วัน (1453) 1.7 ผู้เยาว์ (1454)

  10. 2. การแสดงความยินยอม • 1458 ชายหญิงยินยอมเป็นสามีภริยากัน / ต่อหน้านายทะเบียน นายทะเบียนบันทึกความยินยอม • 1454 กรณีผู้เยาว์ 1) ลงลายมือชื่อขณะจดทะเบียน 2) ทำเป็นหนังสือ ระบุชื่อผู้สมรสทั้ง 2 ลงลายมือชื่อ 3) ต่อหน้าพยาน (ยินยอมแล้วถอนไม่ได้) 3. ได้มีการจดทะเบียนตามกฎหมาย

  11. การสมรส เงื่อนไขแห่งกฎหมาย ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่สมรสอยู่ไม่ได้ ฎีกาที่ 594 / 2506 กรณีจดทะเบียนสมรสซ้ำ นส. มท 0310.2/ว 1528 ลว. 13 ก.ค. 2543 กรณีจดทะเบียนสมรสซ้อน นส. มท 0310.2/ว 245 ลว. 25 ม.ค. 2537

  12. การสมรส เงื่อนไขแห่งกฎหมาย กรณีบุคคลต่างด้าวขอจดทะเบียนสมรส นส. มท 0310.2/ว 1170 ลว. 31 พ.ค. 2543 ฎีกาที่ 3740 / 2525 กรณีจดทะเบียนสมรส กม.ต่างประเทศ หย่าตาม กม.ไทย นส. มท 0310.2/ว 1542 ลว. 9 ส.ค. 2547

  13. การสมรส หญิงที่สามีตายหรือการสมรสสิ้นสุดลง ด้วยประการอื่น ต้องผ่านพ้นไปแล้วไม่น้อยกว่า 310 วัน เว้นแต่ 1. คลอดบุตรแล้ว 2. สมรสกับคู่สมรสเดิม 3. มีใบรับรองแพทย์ ว่ามิได้มีครรภ์ 4. มีคำสั่งของศาลให้สมรสได้ ฎีกาที่ 6788 / 2541

  14. การสมรสที่เป็นโมฆะ • 1449 วิกลจริต / ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ • 1450 ญาติสืบสายโลหิต • 1452 มีคู่สมรสอยู่ • 1458 ชาย หญิงยินยอม ต่อหน้านายทะเบียน

  15. การสมรสที่เป็นโมฆียะ • 1448 คู่สมรสอายุ 17 ปีบริบูรณ์ • 1505 คู่สมรสฝ่ายหนึ่ง สำคัญผิดตัว • 1506 คู่สมรสถูกกลฉ้อฉล • 1507 คู่สมรสถูกข่มขู่ • 1509 ผู้เยาว์ต้องได้รับคำยินยอม

  16. การสมรสจะกระทำได้ต่อเมื่อการสมรสจะกระทำได้ต่อเมื่อ 1. ชาย / หญิง ยินยอมเป็นสามีภรรยากัน 2. แสดงความยินยอมต่อหน้านายทะเบียน 3. นายทะเบียนบันทึกความยินยอมด้วย

  17. ความยินยอมของบิดามารดา ทำได้ 3 วิธี คือ 1. ลงลายมือชื่อในขณะจดทะเบียนสมรส 2. ทำเป็นหนังสือแสดงความยินยอม 3. ถ้ามีเหตุจำเป็นจะให้ความยินยอมด้วย วาจาต่อหน้าพยาน อย่างน้อย 2 คน

  18. วิธีการจดทะเบียนสมรส • 1 สนท. / ไม่เก็บค่าธรรมเนียม • 2 นอก สนท. / 200 บาท / ก , ข , ค • 3 ท้องที่ห่างไกล / 1 บาท / ท • 4 รมต. / 20 / ร • 5 กำนัน • 6 วาจา ต่อหน้าพยาน • 7 สถานทูต / สถานกงสุล

  19. ปัญหาทะเบียนสมรส 1. กรณีจดทะเบียนตามระบบเดิม (จดด้วยมือในสมุด คร.2) ผิดพลาดจากการบันทึกคอมพิวเตอร์ 2. กรณีจดทะเบียนด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ผิดพลาดจากการตรวจสอบคุณสมบัติ

  20. การหย่ากระทำได้ 2 วิธี วิธีที่ 1 การหย่าโดยความยินยอม การหย่าโดยความยินยอมทำได้ 2 วิธี คือ 1) การจดทะเบียนหย่าในสำนักทะเบียน 2) การจดทะเบียนหย่าต่างสำนักทะเบียน วิธีที่ 2 การหย่าโดยคำพิพากษาของศาล จะต้องนำคำพิพากษาถึงที่สุดมาแสดง

  21. การบันทึกหลังการหย่า กฎ มท ข้อ 6 ฎีกาที่ 595 / 2534 การแก้ไขอำนาจปกครองบุตร ฎีกาที่ 7249 / 2546 นส. มท 0310.2 / ว 773 ลว. 9 เม.ย. 2544

  22. คู่สมรสไม่ยอมไปจดทะเบียนหย่าตามคำสั่งศาลคู่สมรสไม่ยอมไปจดทะเบียนหย่าตามคำสั่งศาล ฎีกาที่ 580 / 2508 ฎีกาที่ 3608 / 2531 คู่สมรสติดคุกไม่สามารถไปจดทะเบียนหย่าได้ นส. มท 0313 / 2276 ลว 31 ส.ค. 2521 พระสามารถหย่าได้ตาม กม. นส. มท 0313 / 1481 ลว 7 ส.ค. 2522

  23. ทะเบียนการรับรองบุตร ๑. ม. ๑๕๔๖ เด็กเกิดจากหญิงที่มิได้มีการสมรสกับชาย ให้ถือว่าเป็น บุตรชอบด้วยกฎหมายของหญิงนั้น เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้ เป็นอย่างอื่น ๒. ม ๑๕๔๗ เด็กเกิดจากบิดามารดาที่มิได้สมรสกัน จะเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายต่อเมื่อบิดามารดาได้สมรสกันในภายหลัง หรือบิดามาได้จดทะเบียนว่าเป็นบุตร หรือศาลพิพากษาว่าเป็นบุตร ๓. ม ๑๕๔๘ บิดาจะจดทะเบียนเด็กเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมของเด็กและมารดาเด็ก

  24. หลักเกณฑ์การจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตรหลักเกณฑ์การจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตร • นส. มท 0302 / ว 1674 ลว. 22 ก.ค. 2535 (มารดา และเด็ก ไม่สามารถให้ยินยอมได้ - ศาล) ฎีกาที่ 1177/2540 และ ฎีกาที่ 2473/2545 • นส. มท 0302 / 4277 ลว. 10 มี.ค. 2536 (เด็กไร้เดียงสา – ดุลยพินิจของนายทะเบียน)

  25. ทะเบียนการรับบุตรบุญธรรมทะเบียนการรับบุตรบุญธรรม ป.พ.พ. บรรพ ๕ มาตรา 1598/19 บุคคลที่มีอายุไม่ต่ำกว่ายี่สิบห้าปีจะรับบุคคลอื่นเป็นบุตรบุญธรรม ก็ได้ แต่ผู้นั้นต้องมีอายุแก่กว่าผู้ที่จะเป็นบุตร บุญธรรมอย่างน้อยสิบห้าปี

  26. การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม มีวิธีปฏิบัติ 2 กรณี คือ 1. กรณีผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมบรรลุนิติภาวะ - ผู้ที่จะรับบุตรบุญธรรม และบุตรบุญธรรม ยื่นคำร้อง (ค.ร.1) ต่อนายทะเบียน - นายทะเบียนตรวจสอบคุณสมบัติตามเงื่อนไขแห่งกฎหมาย - ผู้รับบุตรบุญธรรม และบุตรบุญธรรมที่มีคู่สมรสต้องนำคู่สมรส มาให้ความยินยอม - นายทะเบียนรับจดทะเบียนให้ตามแบบ ค.ร.14

  27. 2. กรณีผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมเป็นผู้เยาว์  ในเขต กทม. หรือชาวต่างประเทศที่มีภูมิลำเนาอยู่ใน ประเทศไทย ให้ยื่นคำร้องตามแบบ บ.ธ.๑ ณ ศูนย์อำนวยการ รับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม กรมพัฒนาและสวัสดิการสังคม (ประชาสงเคราะห์เดิม)  ต่างจังหวัดยื่น  ที่ว่าการอำเภอ กิ่งอำเภอ หรือพัฒนาและสวัสดิการ สังคมจังหวัด พร้อมหนังสือยินยอมจากบุคคลผู้มีอำนาจยินยอม

  28. ผู้เยาว์ต้องทดลองเลี้ยงดูผู้เยาว์ต้องทดลองเลี้ยงดู  อธิบดีกรมพัฒนาและสวัสดิการสังคม หรือผู้ว่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี จะพิจารณาสั่งให้ผู้ที่จะรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม นำเด็กไปทดลองเลี้ยงดู ไม่น้อยกว่า ๖ เดือน  โดยมีเจ้าหน้าที่คอยดู และตรวจเยี่ยม อย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง

  29. เมื่อคณะกรรมการทดลองเลี้ยงดูอนุมัติให้มีการรับเด็กเป็นบุตร บุญธรรมแล้ว ผู้รับบุตรบุญธรรม ต้องยื่นคำร้อง (คร.1) ขอจด ทะเบียนต่อนายทะเบียนภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง คำอนุมัติ มิฉะนั้นจะถือว่าสละสิทธิ์  นายทะเบียนตรวจสอบคุณสมบัติตามเงื่อนไขแห่งกฎหมาย  ผู้ที่จะรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม มีคู่สมรส ต้องนำคู่สมรสมาให้ ความยินยอม  เด็กที่จะเป็นบุตรบุญธรรม อายุไม่ต่ำกว่า 15 ปี ต้องลงนาม ในช่องผู้ร้องขอ จดทะเบียนด้วย (ม.1598/20)

  30. ผลที่เกิดจากการจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมผลที่เกิดจากการจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม  บุตรบุญธรรมมีสิทธิ์ใช้ชื่อสกุล และมีสิทธิ์รับมรดกของ ผู้รับบุตรบุญธรรม แต่ผู้รับบุตรบุญธรรมไม่มีสิทธิ์รับมรดกของบุตรบุญธรรม  ผู้รับบุตรบุญธรรมมีอำนาจปกครอง ให้ความอุปการะเลี้ยงดูและถือว่าบุตรบุญธรรมเป็นผู้สืบสันดานของผู้รับบุตรบุญธรรม เสมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายนับแต่วันที่จดทะเบียน บิดามารดาโดยกำเนิดหมดอำนาจปกครองแต่วันจดทะเบียนแต่ไม่ขาดจากการเป็นบิดามารดา และบุตรบุญธรรมไม่สูญสิทธิและหน้าที่ในครอบครัวที่กำเนิดมา

  31. ทะเบียนการเลิกรับบุตรบุญธรรมทะเบียนการเลิกรับบุตรบุญธรรม การเลิกรับบุตรบุญธรรม ทำได้ 2 วิธี คือ 1.โดยความยินยอมของทั้งสองฝ่าย 2.โดยคำพิพากษาของศาล การจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรมโดยความยินยอม มีหลักเกณฑ์ดังนี้ บุตรบุญธรรมบรรลุนิติภาวะแล้ว จะเลิกโดยความตกลงกัน ระหว่างผู้รับบุตรบุญธรรมกับบุตรบุญธรรมเมื่อใดก็ได้ บุตรบุญธรรมยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องได้รับความยินยอมจาก บิดามารดาของบุตรบุญธรรม

  32. การบันทึกฐานะของภริยาการบันทึกฐานะของภริยา เป็นผลสืบเนื่องจากกฎหมายสมัยก่อน(กฎหมายลักษณะผัวเมีย) มิได้บังคับให้ สามีภรรยาต้องจดทะเบียนสมรสกัน และชายอาจมีภรรยาโดยชอบด้วยกฎหมาย หลายคน ต่อมามีการใช้ ป.พ.พ. บรรพ 5 ว่าด้วยครอบครัวชายหญิงจะเป็นสามี ภรรยากัน โดยชอบด้วยกฎหมายนั้น จะต้องจดทะเบียนสมรสกัน และ กำหนดให้ชายมีภรรยา หรือหญิงมีสามีได้เพียงคนเดียว หลักเกณฑ์การบันทึกฐานะของภรรยา มีดังนี้ - ต้องเป็นสามีภรรยา และสมรสก่อนการใช้ ป.พ.พ. บรรพ 5 คือ ก่อน 1 ต.ค. 2478 - บันทึกได้ 2 ฐานะเท่านั้นคือ เอกภริยา บันทึกได้เพียงคนเดียว และอนุภริยา - รับบันทึกเฉพาะสามีภรรยาที่มาร้องขอให้บันทึก ภรรยาอื่นที่ไม่ได้ร้องขอจะไม่บันทึก

  33. การบันทึกฐานะแห่งครอบครัวการบันทึกฐานะแห่งครอบครัว - การใด ๆ อันเกี่ยวกับฐานะแห่งครอบครัวที่ได้ทำขึ้นในต่างประเทศ ตามแบบซึ่งกฎหมาย แห่งประเทศที่ทำขึ้นนั้นบัญญัติไว้ เพื่อคุ้มครองคนไทยที่อยู่ในต่างประเทศ ซึ่งได้กระทำ การใดๆ อันเกี่ยวกับฐานะแห่งครอบครัว และนำหลักฐานมาบันทึก ให้ปรากฎใน ประเทศไทย เพื่อเป็นหลักฐานในการพิสูจน์ เมื่อเกิดมีกรณีพิพาทเกิดขึ้น หรือเพื่อให้ ได้มาซึ่งสิทธิ ตามกฎหมายไทย มีหลักเกณฑ์ ดังนี้ - เป็นกิจการอันเกี่ยวด้วยฐานะแห่งครอบครัว - กิจการนั้นได้กระทำไว้ในต่างประเทศ ตามแบบกฎหมายแห่งประเทศที่ทำขึ้น - เป็นความสัมพันธ์ระหว่างคู่กรณี ที่เป็นคนสัญชาติไทยหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เป็นคนสัญชาติไทย - ต้องนำเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งการนั้น ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยและมีคำรับรองถูกต้อง มาแสดงต่อนายทะเบียน

  34. ทะเบียนพินัยกรรม 2 “คำสั่งครั้งสุดท้ายซึ่งแสดงเจตนากำหนดการเผื่อตาย ในเรื่องทรัพย์สินหรือ กิจการต่าง ๆของผู้ทำพินัยกรรม เพื่อที่จะเกิดผลบังคับตามกฎหมายเมื่อผู้ทำพินัยกรรม ถึงแก่ความตาย” โดยทำแบบใดแบบหนึ่งที่กฎหมายกำหนดไว้ มี ๕ แบบ คือ แบบธรรมดา แบบเขียนเอง ทั้งฉบับ แบบเอกสารฝ่ายเมือง แบบเอกสารลับ และแบบทำด้วยวาจา ซึ่งทางอำเภอมีหน้าที่ เกี่ยวข้องเพียง ๓ แบบคือ แบบเอกสารฝ่ายเมือง แบบเอกสารลับ และแบบทำด้วยวาจา ทะเบียนพินัยกรรมเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่สำคัญดังนี้ -ป.พ.พ. บรรพ ๖ มรดก -กฎกระทรวงมหาดไทยออกตามความในมาตรา ๑๖๗๒ แห่ง ป.พ.พ. และฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๐๓ -ระเบียบการทำพินัยกรรม การตัดทายาทโดยธรรมมิให้รับมรดก การถอนการตัดทายาท โดยธรรมมิให้รับมรดก และการสละมรดก พ.ศ. ๒๔๘๙

  35. งานทะเบียนชื่อบุคคล

  36. กฎหมายชื่อบุคคล พระราชบัญญัติ ชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ (ฉบับ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๐ และ(ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๔๘ ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๖๑ (การใช้ชื่อสกุลของบุตร)

  37. สาระสำคัญของพระราชบัญญัติชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ รวมแก้ไขถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๔ “ชื่อตัว” หมายความว่า ชื่อประจำบุคคล “ชื่อรอง” หมายความว่า ชื่อประกอบถัดจากชื่อตัว “ชื่อสกุล” หมายความว่า ชื่อประจำวงศ์สกุล “นายทะเบียน” หมายความว่า นายทะเบียนท้องที่ / นายทะเบียนจังหวัด / นายทะเบียนกลาง

  38. คำสั่ง มท ที่ ๑๔๓๐/๒๕๐๕ (๖ ธ.ค๒๕๐๕) ๑. ผวจ. เป็น นายทะเบียนจังหวัด ๒. นอ./หน.กิ่ง เป็น นายทะเบียนท้องที่ คำสั่ง มท ที่ ๑๕๗/๒๕๓๗(๑๔ มี.ค๒๕๓๗) แต่งตั้ง ผอ.สทท. เป็น นายทะเบียนกลาง

  39. มาตรา ๕ผู้มีสัญชาติไทยต้องมีชื่อตัวและชื่อสกุล และจะมีชื่อรองก็ได้ 1. หลักเกณฑ์การตั้งชื่อ และเปลี่ยนชื่อ มาตรา ๖ ชื่อตัวต้องไม่พ้องหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับ พระปรมาภิไธย พระนามของพระราชินี ราชทินนาม ไม่มีคำหรือความหมายหยาบคาย * ต้องไม่มีเจตนาทุจริต (นส. มท ที่ 518/2482 ลว 25 มี.ค. 2482)

  40. 2. หลักเกณฑ์การตั้งชื่อรอง และเปลี่ยนชื่อรอง มาตรา ๖ วรรค ๒ –ชื่อรองต้องไม่มีลักษณะ ต้องห้ามตามวรรคหนึ่งและต้องไม่พ้องกับชื่อสกุลของบุคคลอื่น เว้นแต่ เป็นกรณีที่คู่สมรสใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ายหนึ่ง (ได้รับความยินยอม) หรือกรณีบุตรใช้ชื่อสกุลเดิมของมารดาหรือบิดาเป็นชื่อรองของตน

  41. 3. หลักเกณฑ์การตั้งชื่อสกุล และเปลี่ยนชื่อสกุล มาตรา ๘ ชื่อสกุลต้อง • ไม่พ้องหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับพระปรมาภิไธยหรือพระนามของ พระราชินี • ไม่พ้องหรือมุ่งหมายให้คล้ายกับราชทินนาม เว้นแต่ราชทินนาม ของตน ของผู้บุพการี หรือของผู้สืบสันดาน • ไม่ซ้ำกับชื่อสกุลที่ได้รับพระราชทานจากพระมหากษัตริย์ หรือชื่อสกุลที่ได้จดทะเบียนไว้แล้ว (๔) ไม่มีคำหรือความหมายหยาบคาย (๕) มีพยัญชนะไม่เกินกว่าสิบพยัญชนะ เว้นแต่กรณีใช้ราชทินนามเป็นชื่อสกุล

  42. หนังสือที่ มท ๐๓๐๒/ว ๒๖๙๙ ลว ๓ พ.ย. ๓๖ - คำว่า “ต้องไม่มีคำหรือความหมายหยาบคาย” ให้พิจารณาจากความหมายหรือคำแปลที่กำหนด ไว้ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน หรือ ฉบับอื่น หรือที่หน่วยงานราชการกำหนดไว้

  43. คำว่า “บวรศักยฐ์” (บอ-วอน-สัก) “บวร” (ประเสริฐ,ล้ำเลิศ) / “ศักย” (อาจเป็นเป็นได้) / “ฐ” (นามพระอิศวร,เทวดา) ราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า เสมือนเทวดาอันประเสริฐ จ.ปทุมธานีหารือ เมื่อ 21 ก.ค. 51 (ที่ ปท 0017/12722)

  44. 4. หลักเกณฑ์การร่วมใช้ชื่อสกุล มาตรา ๑๑ ผู้จดทะเบียนตั้งชื่อสกุลจะอนุญาตให้ผู้มีสัญชาติไทยผู้ใด ใช้ร่วมชื่อสกุลของตนก็ได้โดยยื่นคำขอต่อนายทะเบียนท้องที่ที่ตน มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร การอนุญาตตามมาตรานี้ จะสมบูรณ์ต่อเมื่อนายทะเบียน ท้องที่ได้ออกหนังสือสำคัญแสดงการอนุญาตให้ใช้ชื่อสกุลให้แก่ ผู้ที่จะใช้ชื่อสกุลนั้น ในกรณีที่ผู้จดทะเบียนตั้งชื่อสกุลตายแล้ว ให้ผู้สืบสันดานของผู้ จดทะเบียนตั้งชื่อสกุลในลำดับที่ใกล้ชิดที่สุดซึ่งมีชีวิตอยู่ และใช้ชื่อสกุลนั้น มีสิทธิอนุญาตตามวรรคหนึ่ง

  45. 5. หลักเกณฑ์การใช้ชื่อสกุลของคู่สมรส มาตรา ๑๒ คู่สมรสมีสิทธิใช้ชื่อสกุลของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งตามที่ ตกลงกัน หรือต่างฝ่ายต่างใช้ชื่อสกุลเดิมของตน การตกลงกันตามวรรคหนึ่ง จะกระทำเมื่อมีการสมรส หรือในระหว่างสมรสก็ได้ ข้อตกลงตามวรรคหนึ่ง คู่สมรสจะตกลงเปลี่ยนแปลง ภายหลังก็ได้

  46. 6. กรณีการสมรสสิ้นสุดลง มาตรา ๑๓ เมื่อการสมรสสิ้นสุดลงด้วยการหย่าหรือศาลพิพากษา ให้เพิกถอนการสมรสให้ฝ่ายซึ่งใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ายหนึ่ง กลับไปใช้ชื่อสกุลเดิมของตน เมื่อการสมรสสิ้นสุดด้วยความตาย ให้ฝ่ายซึ่งยังมีชีวิตอยู่ และใช้ชื่อสกุลของอีกฝ่ายหนึ่งมีสิทธิใช้ชื่อสกุลนั้นได้ต่อไป แต่เมื่อจะสมรสใหม่ให้กลับไปใช้ชื่อสกุลเดิมของตน

  47. 7. การใช้ชื่อสกุลของบุตร ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๖๑ บุตรมีสิทธิใช้ชื่อสกุลของบิดา ในกรณีที่บิดาไม่ปรากฏ บุตรมีสิทธิใช้ชื่อ สกุลของมารดา

  48. ค่าธรรมเนียมการออกหนังสือสำคัญตามกฎหมายว่าด้วยชื่อบุคคลค่าธรรมเนียมการออกหนังสือสำคัญตามกฎหมายว่าด้วยชื่อบุคคล  การเปลี่ยนชื่อตัว หรือชื่อรอง ฉบับละ 50 บาท  การรับจดทะเบียนตั้งชื่อสกุล ฉบับละ 100 บาท  การเปลี่ยนชื่อสกุลครั้งแรกภายหลังการจดทะเบียนสมรส ไม่เสียค่าธรรมเนียม การเปลี่ยนชื่อสกุลเพราะการสมรสสิ้นสุดลง ไม่เสียค่าธรรมเนียม  การเปลี่ยนชื่อสกุลภายหลังการจดทะเบียนสมรส ครั้งต่อๆ ไป ฉบับละ 50 บาท  การเปลี่ยนชื่อสกุลเพราะเหตุอื่น เช่น การร่วมใช้ชื่อสกุล ฉบับละ 100 บาท  การออกใบแทนหนังสือสำคัญ ฉบับละ 25 บาท (กฎกระทรวง มท ประกาศราชกิจจาฯ 18 ก.ค. 50)

  49. ๓.๓ วิธีการจดทะเบียนตั้งชื่อสกุล (ช.๒) ๓.๓.๑ ให้ยื่นคำขอตามแบบ ช.๑ ต่อนายทะเบียนท้องที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ☺ ตรวจบัตรประจำตัวประชาชน ☺ รายการทะเบียนบ้านในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร ☺ตรวจชื่อสกุลตามหลักเกณฑ์ ข้อ ๓.๒ • บันทึกในทะเบียนชื่อสกุลตามแบบ ช.๒/๑ • ออกหนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียนชื่อสกุลตามแบบ ช.๒ $ ค่าธรรมเนียม ฉบับละ ๑๐๐ บาท

  50. ๓.๔ วิธีการการเปลี่ยนชื่อสกุลโดยการร่วมใช้ชื่อสกุล (ช.๔) • การดำเนินการขอใช้ชื่อสกุลร่วมกับผู้อื่น จะต้องให้เจ้าของชื่อสกุล (ผู้จดทะเบียนชื่อสกุล) เป็นผู้อนุญาตให้ใช้ชื่อสกุลนั้น และจะอนุญาตให้ได้เฉพาะผู้ที่ประสงค์จะร่วมใช้ชื่อสกุลนั้น โดยมีการปฏิบัติ 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ จะต้องออกหนังสืออนุญาตให้ร่วมใช้ชื่อสกุล (ช.๖) ให้กับเจ้าของชื่อสกุล ขั้นตอนที่ ๒ จะต้องออกหนังสือสำคัญแสดงการร่วมใช้ชื่อสกุล (ช.๔) ให้กับผู้ขอร่วมใช้ชื่อสกุล

More Related