200 likes | 488 Views
Raster to Vector. การแปลงจากข้อมูลราสเตอร์เป็นข้อมูลเวคเตอร์. อรุณี พุทธสุวรรณ รหัส 44032672 วิทยาการคอมพิวเตอร์ ภาคปกติ. สิ่งที่จะนำเสนอ. บทนำ ประเภทข้อมูลในระบบ GIS ความแตกต่างของ raster และ vector ขั้นตอนพื้นฐานในการแปลงข้อมูล ตัวอย่างที่ได้จากการแปลงข้อมูล
E N D
Raster to Vector การแปลงจากข้อมูลราสเตอร์เป็นข้อมูลเวคเตอร์ อรุณี พุทธสุวรรณ รหัส 44032672 วิทยาการคอมพิวเตอร์ ภาคปกติ
สิ่งที่จะนำเสนอ บทนำ ประเภทข้อมูลในระบบ GIS ความแตกต่างของ raster และ vector ขั้นตอนพื้นฐานในการแปลงข้อมูล ตัวอย่างที่ได้จากการแปลงข้อมูล ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในการแปลงข้อมูล
บทนำ • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์(The Geographic Information System หรือ GIS) • เป็นการปฏิบัติการรวบรวม จัดเก็บ และวิเคราะห์ข้อมูลภูมิศาสตร์ รวมทั้งการค้นคืนข้อมูล และการแสดงผลข้อสนเทศ • องค์ประกอบของ GIS แบ่งเป็น 5 ส่วน คือ • 1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) • 2 ซอฟต์แวร์(Software) • 3ข้อมูล (Data) • 4 บุคลากร (Peopleware) • 5วิธีการปฏิบัติงาน (Methodology หรือ Procedure)
ประเภทข้อมูลในระบบ GIS แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ข้อมูลเชิงพื้นที่ ( Spatial data ) ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ ( Attribute data )
ข้อมูลเชิงพื้นที่ ( Spatial data ) เป็นข้อมูลที่สามารถอ้างอิงกับตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ (Geo- referenced) ทางภาคพื้นดินเป็นที่ทราบและยอมรับกันทั่วไปว่า สิ่ง ต่างๆที่ปรากฎบนพื้นโลกย่อมมีที่ตั้งที่แน่นอนว่าอยู่ ณ ที่ใด และ สามารถกำหนดลงไปได้ ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ มี 2 แบบ 1. ตำแหน่งสัมบูรณ์ 2. ตำแหน่งสัมพัทธ์
ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ ( Attribute data ) เป็นคุณสมบัติ หรือคุณลักษณะประจำข้อมูลภูมิศาสตร์หนึ่งๆ โดยปกติมักเรียกคุณสมบัติของข้อมูลทางภูมิศาสตร์นั้นๆว่าข้อมูลที่ไม่ใช่เชิงพื้นที่ (non-spatial data) ทั้งนี้เพราะตัวของมันเองไม่ได้แสดงข้อมูลที่เกี่ยวกับตำแหน่งแต่อย่างใด
ข้อมูลเชิงพื้นที่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ข้อมูลราสเตอร์ ( Raster data ) ข้อมูลเวคเตอร์ ( Vector data )
ราสเตอร์ ( Raster ) ประกอบด้วยลักษณะของช่องสี่เหลี่ยมที่เรียกว่า “กริด” หรือ “จุด” (Grid or Pixels) โดยในแต่ละจุดจะประกอบด้วยตัวเลขซึ่งใช้ในการแทนค่าของระดับความเข้มที่ต่างกันในแต่ละส่วนของภาพ
เวคเตอร์ ( Vector ) ประกอบด้วยลักษณะของจุด(Point) เส้น(Line) รูปเหลี่ยมพื้นที่(Polygon) ซึ่งขบวนการเก็บของข้อมูลเวคเตอร์จะใช้คู่พิกัด X และ Y เป็นตัวชี้ตำแหน่ง
RASTER AND VECTOR LINE POLYGON
ความแตกต่างของ raster และ vector
ขั้นตอนพื้นฐานในการแปลงข้อมูลขั้นตอนพื้นฐานในการแปลงข้อมูล 1. Skeletonization and Thining 2. Line tracking 3.Topological Reconstruction
ตัวอย่างการแปลงภาพ Raster Vector
ตัวอย่างการแปลงภาพ Raster Vector
สรุป การเก็บข้อมูลลงในฐานข้อมูลของระบบ GIS นั้น จะต้องทำการเก็บข้อมูลที่เป็นข้อมูลประเภทเวคเตอร์ลงในฐานข้อมูล จึงจำเป็นที่จะต้อง แปลงข้อมูลราสเตอร์ที่เราได้มาให้เป็นข้อมูลเวคเตอร์ซึ่งเริ่มจาก ทำให้ภาพมีโครงร่างที่บาง จากนั้นก็ทำการหาส่วนของเส้นตรง สุดท้ายทำการจัดความสัมพันธ์ของส่วนประกอบของภาพ แล้วก็ทำการเก็บข้อมูลเวคเตอร์ที่ได้นี้ลงในฐานข้อมูล
แหล่งที่มาของข้อมูล กิ่งกาญจน์ วงศ์วิภาพรและดร.บุญวัฒน์ อัตชู.2541.การแปลงข้อมูลภาพจากรูปแบบราสเตอร์เป็นเวคเตอร์แบบอัตโนมัติ.วารสารสารสนเทศลาดกระบัง.59-61 สรรค์ใจ กลิ่นดาว.2542.ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หลักการเบื้องต้น.ครั้งที่1.กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ website http://www.gis2me.com/gis/index.htm http://provice.moph.go.th/makhonratchasima/gis_koratpage.htm http://ce.utexas.edu/prof/maidment/giswr2003/visual/spatial.ppt http://www-dwaf.pwy.gov.za/lWQS/r2v/main.shtml http://www.cardhouse.com/computer/vector.htm http//ablesw.com/r2v/r2vhome.htm R2V