300 likes | 430 Views
รัฐและระบบกฎหมาย. บุคคลคนนี้คือใคร พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าเมืองเชียงใหม่คนสุดท้าย 2453 – 2482. เจ้าเมืองเชียงใหม่หายไปได้อย่างไร เชียงใหม่ใช้ระบบกฎหมายเดียวกันกับกรุงเทพฯ เมื่อไหร่ ระบบกฎหมายก่อนหน้านี้เป็นอย่างไร ระบบกฎหมายมีความสัมพันธ์กับความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของรัฐอย่างสำคัญ.
E N D
บุคคลคนนี้คือใคร • พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ • เจ้าเมืองเชียงใหม่คนสุดท้าย • 2453 – 2482
เจ้าเมืองเชียงใหม่หายไปได้อย่างไรเจ้าเมืองเชียงใหม่หายไปได้อย่างไร • เชียงใหม่ใช้ระบบกฎหมายเดียวกันกับกรุงเทพฯ เมื่อไหร่ • ระบบกฎหมายก่อนหน้านี้เป็นอย่างไร • ระบบกฎหมายมีความสัมพันธ์กับความเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของรัฐอย่างสำคัญ
รัฐราชาธิราช: ก่อนปฏิรูปการปกครอง ร. 5 • ความแตกต่างก่อนหน้าและภายหลังรัฐสมัยใหม่
รัฐก่อนหน้ารัฐสมัยใหม่เหมือนแสงเทียนรัฐก่อนหน้ารัฐสมัยใหม่เหมือนแสงเทียน • การแสดงถึงการยอมรับต่ออำนาจของอีกรัฐหนึ่งก็ด้วยการส่งบรรณาการ การไปช่วยรบ เข้าร่วมพิธีต่างๆ • ไม่มีศักยภาพในการเข้าไปแทรกแซงในการปกครองของเจ้าเมือง • ประชาชนมีความเป็นพวกเดียวกันหรือไม่
McGilvary • มิชชันนารีชาวอเมริกัน นิกายโปรเตสแตนต์ ได้เดินทางมาภาคเหนือของเพื่อเผยแพร่ศาสนาคริสต์ที่เชียงใหม่
หมอแมคกิลวารีเดินทางจากกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2410 • ใช้เวลาประมาณ 3 เดือน • ปิแอร์ โอต เดินทาง พ.ศ. 2440 • 3 สิงหาคม มาถึงเชียงใหม่ 28 สิงหาคม
พิษณุ จันทร์วิทัน • ล้านนาไทยในแผ่นดินพระพุทธเจ้าหลวง • ต้องแลกเงินก่อนพ้นเมืองระแหง
ลักษณะของกฎหมาย • อำนาจสูงสุดในการบัญญัติกฎหมาย • ยังอิงอยู่กับอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามธรรมชาติ • ท้องถิ่นแต่ละแห่งมีกฎหมายที่เป็นของตนเอง • กฎหมายมังรายศาสตร์ • อาณาจักรหลักคำ • กฎหมายหนองบัวลมพู
การบังคับใช้กฎหมาย • กระทั่งต้นรัตนโกสินทร์ อำนาจรัฐทางเหนือไปถึงพิษณุโลก นครศรีธรรมราช • ใช้ได้เฉพาะที่ใกล้กับศูนย์กลางของอำนาจรัฐ ที่ห่างไกลออกไปขึ้นอยู่กับชุมชน
รัฐสมบูรณาญาสิทธิ์: ยุคปฏิรูปการปกครอง • การปฏิรูปการปกครองในสมัย ร.5 • จัดตั้งมณฑลลาวเฉียง (เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน เถิน) > มณฑลพายัพ • จัดตั้งมณฑลลาวพวน (อุดร ขอนแก่น นครพนม สกลนคร เลย หนองคาย > มณฑลอุดร • จัดตั้งมณฑลลาวกาว เขมร หัวเมืองแขกมลายู > มลฑลไทรบุรี
สลายอำนาจท้องถิ่น ขยายอำนาจรัฐส่วนกลาง • 2435 ข้าหลวงส่วนกลางเข้ามาควบคุม 2440 ข้าหลวงใหญ่เป็นผู้มีอำนาจสูงสุด • เปลี่ยนระบบการจัดเก็บภาษี • การสัมปทานป่าไม้ต้องให้รัฐบาลสยามเห็นชอบ • สถาปนาระบบราชการแทนที่ • มีการต่อต้านหรือไม่
ทำไมถึงใช้ชื่อว่า “ลาวเฉียง” • เป็นเพราะชนชั้นนำไทยไม่รู้จักทิศ • หรือเป็นเพราะแผ่นดินไหวทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายของดินแดน
ความรู้สึกร่วมกันในฐานะ “คนไทย” • “การที่จะจัดหัวเมืองลาวให้เรียบร้อยนั้น จะต้องใช้เวลานาน ควรหาผู้ใดผู้หนึ่งไปถากถางหาลู่ทางให้โปร่งก่อน ถ้าจะเอาคนอื่นที่ไม่เป็นคนคุ้นเคยแก่ราชการในกรม หรือไม่ที่นับถือแก่พวกลาวก็อาจเกิดข้อขัดข้องได้” • พระราชหัตถเลขา ร. 5 เกี่ยวกับการจัดระเบียบหัวเมืองล้านนา
ลักษณะของระบบกฎหมาย • อำนาจรัฐส่วนกลางเริ่มขยายตัวพร้อมเทคโนโลยีทางอำนาจ • ทางรถไฟสายโคราช 2443 • ทางรถไฟเชียงใหม่ 2464 • แต่การบังคับใช้ก็ยังมีข้อจำกัด • เสือฝ้าย เสือใบ เสือมเหศวร 2470-2480
เริ่มสร้างระบบกฎหมายเชิงเดี่ยว • การจัดทำประมวลกฎหมายอาญา แพ่งและพาณิชย์ • โดยเฉพาะระบบการจัดการทรัพยากร ซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับท้องถิ่น • ระบบกฎหมายที่สัมพันธ์กับรัฐชาติ เช่น สัญชาติ 2454, 2456
อำนาจสูงสุดอยู่ที่กษัตริย์อำนาจสูงสุดอยู่ที่กษัตริย์ • ระบบเจ้าเมืองยุติลง ไม่มีอำนาจท้องถิ่นที่เป็นอิสระอีกต่อไป ตั้งแต่ พ.ศ. 2467 ให้เจ้าเมืองรับเงินเดือนจนสิ้นชีวิต เจ้าเมืองคนใดตายไม่ตั้งใหม่ • เจ้าแก้วนวรัฐ สิ้นชีวิต 2482 ณ เชียงใหม่, ณ ลำพูน, ณ ลำปาง • สัญลักษณ์ของเจ้าท้องถิ่นผู้พ่ายแพ้
พลโทเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิตพลโทเจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต
รัฐชาติ: หลัง 2475 • เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยในเดือนมิถุนายน 2475
รูปแบบการปกครอง • “อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศนั้นเป็นของราษฎรทั้งหลาย” • พ.ร.บ. ธรรมนูญการปกครองสยาม 2475 • อำนาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวสยาม • รัฐธรรมนูญ 10 ธันวาคม 2475
รัฐเป็นของประชาชนมิใช่เป็นของกษัตริย์รัฐเป็นของประชาชนมิใช่เป็นของกษัตริย์ • ตาม พ.ร.บ. แปลงชาติเดิม 2454 ต้องมีการถือ “พิพัฒน์สัตยานุสัตย์” • การสาบานว่าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ • การแปลงชาติในปัจจุบันต้องกระทำหรือไม่ • เปลี่ยนความหมายจากเดิมอย่างสำคัญ
การบังคับใช้กฎหมายที่เริ่มสม่ำเสมอทุกพื้นที่การบังคับใช้กฎหมายที่เริ่มสม่ำเสมอทุกพื้นที่ • ในทางทฤษฎี รัฐส่วนกลางมีอำนาจสูงสุดตั้งแต่รัชกาลที่ 5 • แต่ในทางปฏิบัติต้องมีการสร้างเทคโนโลยีทางอำนาจ เช่น ระบบราชการ ระบบคมนาคม • ในพื้นที่ห่างไกลยังมีปัญหา
การสำรวจชาวเขาหลัง 2500 ที่เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา พบว่าหมู่บ้านส่วนใหญ่เพิ่งตั้ง ชาวบ้านมีเมียหลายคน ตัดสินข้อพิพาทกันเอง • สัญชาติ ป่าไม้ ไม่ได้เป็นปัญหาสำคัญจนกระทั่งหลังทศวรรษ 2530 • เพราะเหตุใด
ลักษณะของระบบกฎหมาย • อำนาจนิติบัญญัติมาจากประชาชน • สืบทอดระบบกฎหมายเชิงเดี่ยว • สืบทอดต่อมาจากยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ • ทำให้เกิดระบบกฎหมายแบบที่ต้องเป็นหนึ่งเดียวทั้งประเทศ มรดก ครอบครัว
อิทธิพลของตะวันตกเพิ่มมากขึ้นอิทธิพลของตะวันตกเพิ่มมากขึ้น • สืบเนื่องตั้งแต่ปลาย ร. 4เป็นต้นมา • รับรองสิทธิเอกชนทางทรัพย์สิน ที่ดิน • กฎหมายอาญา ยกเลิกโทษแบบทรมาน บทลงโทษสูงต่ำชัดเจน
บางเรื่องเกิดหลัง 2475 • ระบบครอบครัวแบบผัวเดียวเมียเดียว • ยอมรับความเท่าเทียมกันของบุคคล ความสามารถเป็นตัวกำหนดชะตากรรม