1 / 38

การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ ด้านพิษวิทยาและสิ่งแวดล้อม

การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ ด้านพิษวิทยาและสิ่งแวดล้อม. สิ่งแวดล้อมมี 2 กลุ่มใหญ่ๆ. สิ่งแวดล้อมทั่วไป สิ่งแวดล้อมในการทำงาน. สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย ( Health Hazards). 1.1 สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางกายภาพ (Physical Health Hazards) 1.2 สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางเคมี

korbin
Download Presentation

การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ ด้านพิษวิทยาและสิ่งแวดล้อม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ด้านพิษวิทยาและสิ่งแวดล้อมการเก็บตัวอย่างและการวิเคราะห์ด้านพิษวิทยาและสิ่งแวดล้อม

  2. สิ่งแวดล้อมมี 2 กลุ่มใหญ่ๆ สิ่งแวดล้อมทั่วไป สิ่งแวดล้อมในการทำงาน

  3. สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย (Health Hazards) 1.1 สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางกายภาพ (Physical Health Hazards) 1.2 สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางเคมี (Chemical Health Hazards) 1.3 สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางชีวภาพ (Biological Health Hazards) 1.4 สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางจิตวิทยาสังคม (Psychosocial Health Hazards)

  4. สารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์สารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ • สารกำจัดแมลง ออร์กาโนฟอสเฟต คาร์บาเมต ออร์กาโนคลอรีน ไพรีธรอยด์ • สารกำจัดวัชพืช พาราควอท ดาลาพอน ไดยูรอน • สารกำจัดเชื้อรา แคปแทน มาเนป เบนโนมิล • ชีวสาร ฮอร์โมนส์และสารควบคุมการ เจริญเติบโต จุลินทรีย์ที่ควบคุมศัตรูพืช

  5. ก๊าซพิษและไอกรด/ด่าง • คาร์บอนไดซัลไฟด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ • คลอรีน ฟอสจีน ไฮโดรเจนซัลไฟด์ อื่นๆ • กรดไนตริก กรดเกลือ กรดกำมะถัน อื่นๆ • แอมโมเนีย โซเดียมไฮดรอกไซด์ อื่นๆ

  6. จุลชีววิทยา • เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส ที่ก่อให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพ เช่น โรคเลปโตสไปโรซิส โรคแอนแทรกซ์ โรคบากาสโซสิส โรคบิสซิโนซิส โรคลีเจียนแนร์ โรคผิวหนังต่างๆ

  7. ฝุ่นและเส้นใย • ฝุ่นละอองข้าว • ฝุ่นซิลิก้า • ฝุ่นกัมมันตรังสี • เส้นใยแอสเบสตอส • เส้นใยฝ้าย ปอ ลินิน ป่าน

  8. ตัวทำละลายอินทรีย์ • Aromatic hydrocarbon -Benzene ,Toluene, Xylene Styrene, Polycyclic aromatic hydrocarbon • Aliphatic hydrocarbon - n-Hexane, Cyclohexane • Alcohol-Methanol, Ethanol, Butanol, Isopropanol • Aldehyde-Formaldehyde,Furfural • Ketone-Acetone,MEK,MIBK

  9. สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางเคมี (Chemical Health Hazards) • สารเคมีในสิ่งแวดล้อมนั้นมีหลายประเภท • โดยอาจปนเปื้อนได้ทั้งในอากาศ ดินและน้ำ สารเคมีที่ปนเปื้อนนี้มีรูปแบบทางกายภาพและคุณสมบัติที่แตกต่างกันไป

  10. อันตรายจากสารเคมี • จากการระเบิดและลุกไหม้ • จากการเข้าสู่ร่างกายแล้วทำให้เกิดพิษต่อร่างกาย * พิษเฉียบพลัน(Acute Effect) - เกิดอาการผิดปกติภายใน 24 ชั่วโมง/ภายใน 7 วัน * พิษกึ่งเรื้อรัง(Sub - chronic Effect) - เกิดอาการผิดปกติภายใน 30 วัน * พิษเรื้อรัง(Chronic Effect) - เกิดอาการผิดปกติภายในเวลามากกว่า 30 วัน

  11. ความเป็นพิษต่อร่างกายความเป็นพิษต่อร่างกาย • สารเคมีต่างชนิดกันจะมีคุณสมบัติทางเคมีที่แตกต่างกัน และมีพิษต่อร่างกายต่างกัน • สารเคมีสามารถเข้าสู่ร่างกายได้ทั้งทางการหายใจ(Inhalation) ทางการดูดซึมผ่านทางผิวหนัง(Skin Absorption) และโดยทางเดินอาหารโดยการรับประทานอาหาร/น้ำดื่มที่มีสารเคมีปนเปื้อนอยู่(Ingestion)

  12. ลักษณะ/รูปแบบของอนุภาคสารเคมีลักษณะ/รูปแบบของอนุภาคสารเคมี • อนุภาคที่เป็นของแข็ง ได้แก่ ฝุ่น ฟูมและควัน • อนุภาคที่เป็นของเหลว ได้แก่ ละออง ไอ ไอระเหย และหมอก • อนุภาคที่เป็นก๊าซ ได้แก่ ก๊าซชนิดต่างๆ

  13. วิถีเข้าสู่ร่างกายที่แตกต่างกันนั้นอาจมีผลต่อร่างกายแตกต่างกัน • ส่วนใหญ่แล้วสารเคมีมีผลต่อร่างกายได้หลายประการ ได้แก่ - เกิดความระคายเคือง - ทำให้มึนเมา อาจทำให้สลบหรือหมดสติ - พิษต่อระบบและอวัยวะต่างๆในร่างกาย - บางชนิดเป็นสารก่อมะเร็ง(Carcinogen)

  14. ตับเป็นอวัยวะสำคัญในการขัดสารพิษออกจากร่างกายตับเป็นอวัยวะสำคัญในการขัดสารพิษออกจากร่างกาย • ระบบเมตาบอลิซึม (Metabolism) ในตับนั้นเป็นระบบที่สำคัญในการแปรรูปของสารเคมีที่เป็นพิษให้เป็นพิษน้อยลงหรือไม่เป็นพิษ ซึ่งเรียกว่าสารเมตาโบไลท์ (Metabolite หรือ Metabolites) สารเคมี เมตาบอลิซึมในตับ สารเมตาโบไลท์ ในเลือด สารเคมีสะสมในร่างกาย สารเมตาโบไลท์ที่ ขจัดออกจากร่างกาย

  15. สารเคมีที่พบมากและเป็นปัญหาในงานอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมสารเคมีที่พบมากและเป็นปัญหาในงานอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม • สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ (Pesticides) • สารทำละลายอินทรีย์/ตัวทำละลายอินทรีย์ (Organic Solvents) • สารโลหะหนัก (Heavy Metal)เช่น ตะกั่ว แคดเมียม แมงกานีส ปรอท เหล็ก เป็นต้น • แร่ใยหิน/แอสเบสตอส (Asbestos) • ฝุ่นหิน/ทรายซิลิก้า (Silica)

  16. ค่าบ่งชี้(Index/Marker) • ค่าบ่งชี้ทางสิ่งแวดล้อม(Environmental Index) - ค่ามาตรฐานความปลอดภัยของสารเคมีปนเปื้อนใน บรรยากาศการทำงาน • ค่าบ่งชี้ทางชีวภาพ(Biological Index/Biomarker) - ค่ามาตรฐานความปลอดภัยของสารเคมีในร่างกาย(เช่น เมตาโบไลท์(Metabolites) ของสารเคมีในเลือด ในปัสสาวะ)

  17. หลักการทางพิษวิทยากับภาวะความเป็นพิษ กับการประเมินสุขภาพและการสอบสวนโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม • ประเภทของสารที่ได้รับเข้าสู่ร่างกาย (Type of Chemicals) • ทางที่ได้รับเข้าสู่ร่างกาย (Routes of Entry) • ระดับความเข้มข้นของสารที่ได้รับ(Concentration) • ระยะเวลาที่ได้รับสาร (Exposure Time) • สภาวะร่างกายของแต่ละบุคคล (Physical Condition) • พฤติกรรมส่วนบุคคล (Human Behaviour) • สถานที่อยู่ • ประวัติการทำงาน • อาชีพที่ทำปัจจุบัน • การป้องกันตนเอง

  18. หลักการทางพิษวิทยากับภาวะความเป็นพิษ กับการประเมินสุขภาพและการสอบสวนโรคจากสารเคมี • ชนิดของสารเคมีที่ใช้และที่เข้าสู่ร่างกาย • ทางที่เข้าสู่ร่างกาย (Routes of Entry) • ระดับความเข้มข้นของสารที่ได้รับ(Concentration) • ระยะเวลาที่ได้รับสาร (Exposure Time) • สภาวะร่างกายของแต่ละบุคคล (Physical Condition) • พฤติกรรมส่วนบุคคล (Human Behaviour) • สถานที่อยู่ • ประวัติการทำงาน อาชีพปัจจุบัน และการป้องกันตนเอง • กระบวนการผลิต การบรรจุ การสะสมและการขนส่ง • ระดับความเข้มข้นของสารเคมีในร่างกาย

  19. การพิจารณาโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมเนื่องจากสารเคมีการพิจารณาโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมเนื่องจากสารเคมี • ประวัติการทำงาน • ประวัติส่วนบุคคล • ประวัติสุขภาพ • ผลการตรวจสุขภาพทั่วไป และผลการตรวจพิเศษในขณะที่ป่วยขณะนั้น • ข้อมูลกระบวนการผลิต • ข้อมูลการใช้สารเคมีในกระบวนการผลิต • ข้อมูลลักษณะงานและสารเคมีที่ใช้ในงานนั้น • ข้อมูลของชนิดและระดับความเข้มข้นของสารเคมีในบรรยากาศการทำงาน • ข้อมูลของระดับความเข้มข้นของสารเมตาโบไลท์ของสารเคมีในร่างกาย

  20. การประเมินสุขภาพผู้ปฏิบัติงานและการประเมินสุขภาพของผู้ได้รับพิษจากสิ่งแวดล้อมการประเมินสุขภาพผู้ปฏิบัติงานและการประเมินสุขภาพของผู้ได้รับพิษจากสิ่งแวดล้อม • การสำรวจสถานที่/สถานประกอบการ (Walk Through Survey) • การตรวจทางสิ่งแวดล้อมและชีวภาพ (การเก็บตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อมและ ตัวอย่างทางชีวภาพ) • การวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ

  21. วัสดุตัวอย่าง ตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อมตัวอย่างทางชีวภาพ

  22. วัสดุตัวอย่าง ด้านสิ่งแวดล้อม • ตัวอย่างอากาศในสิ่งแวดล้อมการทำงาน • ตัวอย่างน้ำ • ตัวอย่างวัตถุดิบ • ตัวอย่างผลิตภัณฑ์

  23. ด้านชีวภาพ • ตัวอย่างเลือด • ตัวอย่างปัสสาวะ • ตัวอย่างเส้นผม • ตัวอย่างเล็บ • ตัวอย่างน้ำไขสันหลัง • ตัวอย่างลมหายใจออก

  24. การประเมินผล(Evaluation) • การนำข้อมูลทุกด้านมาประกอบกันเพื่อประเมินผลของสุขภาพและเพื่อเป็นการยืนยันผลว่าเกิดจากการสัมผัสกับสารปนเปื้อนและ/หรือสารแปลกปลอมนั้นๆจริง

  25. การเก็บตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อม(Environmental Sampling) • ตัวอย่างน้ำ(Water Sampling) • ตัวอย่างดิน(Soil Sampling) • ตัวอย่างอากาศ (Air Sampling) - ตัวอย่างอากาศที่ตัวบุคคล(Personal Air Sampling) - ตัวอย่างอากาศในสถานที่ทำงาน(Area Air Sampling หรือ General Air Sampling)

  26. อุปกรณ์และเครื่องมือเก็บตัวอย่างอากาศอุปกรณ์และเครื่องมือเก็บตัวอย่างอากาศ • เครื่องมือที่ใช้อ่านค่าได้ทันที • เครื่องมือเก็บตัวอย่างเพื่อส่งวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ

  27. การคำนวณค่าเฉลี่ยของความเข้มข้นของสิ่งปนเปื้อนในอากาศตามระยะเวลา(Time-weighted Average) ที่ผู้ปฏิบัติงานสัมผัสสารใน1 วัน (โดยทั่วไปแล้วประมาณ 8 ชั่วโมงการทำงาน) • TWA = C1T1+C2T2.....CnTn Tt • เมื่อ TWA = ค่าเฉลี่ยของความเข้มข้นของสิ่งปนเปื้อนในอากาศ(ในที่นี้หมายถึง สารเคมี) • Cn = ค่าเฉลี่ยของความเข้มข้นของสิ่งปนเปื้อนในอากาศ(ในที่นี้หมายถึง สารเคมี)ที่ช่วงเวลา • Tn = ช่วงเวลา • Tt = เวลาทั้งหมดของการทำงาน 1 วัน

  28. เครื่องมือที่ใช้อ่านค่าได้ทันที(Direct Reading Instrument) • Detector Tube • Combustible Gas Meter • Portable Infrared Meter

  29. เครื่องมือเก็บตัวอย่างส่งวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเครื่องมือเก็บตัวอย่างส่งวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ • ตัวเก็บสะสมสิ่งปนเปื้อนในอากาศ (Collecting Device or Sampling Head ) • ตัวดูดอากาศ (Air Movers)

  30. ตัวเก็บสะสมสิ่งปนเปื้อนในอากาศ(Collecting Device or Sampling Head) • ขวดแก้วเก็บตัวอย่างอากาศ - Simple bubbler, Impinger, Fritted gas bubbler • หลอดแก้วเก็บตัวอย่างอากาศ ภายในบรรจุ Silica gel หรือ Activated charcoal • อุปกรณ์เก็บอากาศชนิดอื่น - cyclone, Cascade Impactor, Elutriator, Air bag • กระดาษกรอง

  31. กระดาษกรองเก็บตัวอย่างอากาศกระดาษกรองเก็บตัวอย่างอากาศ • Mixed Cellulose Ester Filter (MCEF) • Low Ash Polyvinyl Chloride ( LAPVC ) • Glass Fiber Filter (GFF) • Silver Membrane

  32. ครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์หลักที่ใช้ในการวิเคราะห์ครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์หลักที่ใช้ในการวิเคราะห์ • GC Mass Spectrophotometer (GC-MS) • Inductively Coupled Plasma Atomic Emission Spectophotometer (ICP) • Gas Chromatograph (GC) • High Performance Liquid Chromatograph (HPLC) • Atomic Absorption Spectrophotometer (AAS) • Spectrophotometer • เครื่องมือวิทยาศาสตร์พื้นฐานทางห้องปฏิบัติการเคมี, เทคนิคการแพทย์และจุลชีววิทยา

  33. ตัวอย่างการใช้เครื่องมือวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ(Laboratory Analysis) • HPLC(High Performance Liquid Chromatography) env - สารตัวทำละลายอินทรีย์ สารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ กรด-ด่าง ก๊าซ bio - เมตาโบไลท์ของสารตัวทำละลายอินทรีย์ สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ • GC(Gas Chromatography) env - ไอระเหยของสารตัวทำละลายอินทรีย์ ไอของไฮโดรคาร์บอน bio - สารตัวทำละลายอินทรีย์ในเลือด สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ ในเลือด เมตาโบไลท์ของสารตัวทำละลายอินทรีย์

  34. AAS(Atomic Absorption Spectrophotometer) env & bio - สารโลหะหนัก • ICP(Inductively Coupled Plasma) env & bio - วิเคราะห์สารอื่นๆและสารในกลุ่มโลหะหนัก • Spectrophotometer env - วิเคราะห์ซิลิก้า(Silica)

  35. การเลือกกระดาษกรองสำหรับFilterการเลือกกระดาษกรองสำหรับFilter • ไอระเหยของสารตัวทำละลายอินทรีย์ - หลอดผงถ่านกัมมันตุ์(Activated Charcoal Tube) • เส้นใยแร่ใยหิน(Asbestos) หรือ เก็บฟูมของโลหะ(Metal Fume) - MCEF(Mixed Cellulose Ester Filter) • ฝุ่นทรายซิลิก้า(Silica)และฝุ่นทั่วไป/ฝุ่นโดยรวม(Total Dust) - LAPVC(Low Ash Polyvinyl Chloride) • สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและสัตว์(Pesticides) - GFF(glass Fiber Filter) • ฝุ่น/เขม่าควันของถ่านหิน/คาร์บอน(Coke Over Emission) - AgM(Silver Membrane)

  36. การเก็บตัวอย่าง

  37. การเก็บตัวอย่าง(ต่อ)

  38. ตัวดูดอากาศ(Air Mover) • High Flow Device (10 - 100 LPM) • Gravimetric and Particulate Samples ( 1 - 6 LPM) • Low Flow Sample Pumps for Gas and Vapour (20 - 200 CFM/Min) • Hand Pump

More Related