670 likes | 1.49k Views
ชีววิทยา ม.4. Gene & Chromosome. 1. Linked gene. 2. Gene in autosome. 3. Gene in sex chromosome. Gene. Sex linked genes. - ยีนที่มีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซมเพศ. Autosomal genes. - ยีนที่มีตำแหน่งบนออโตโซม. Autosomal inheritance. - ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนที่อยู่บน Autosome.
E N D
ชีววิทยา ม.4 Gene & Chromosome 1. Linked gene 2. Gene in autosome 3. Gene in sex chromosome
Sex linked genes - ยีนที่มีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซมเพศ Autosomal genes - ยีนที่มีตำแหน่งบนออโตโซม Autosomal inheritance - ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนที่อยู่บน Autosome Sex linked inheritance - ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ
1.Gene in Autosome 1. ABO blood group 2. Rh blood group - chromosome คู่ที่ 9 - 3 alleles - chromosome คู่ที่ 1 - 2 allele (R,r) 3. Retinoblastoma - ยีนเด่นบน chromosome คู่ที่ 13 - 2 allele (+,rb) 4. Thalassemia α - thalassemia ยีนด้อยบน chromosome คู่ที่ 16 – thalassemia ยีนด้อยบน chromosome คู่ที่ 11
- chromosome คู่ที่ 1 - 2 allele (R,r) - R เป็นยีนเด่น r เป็นยีนด้อย Rh blood group จีโนไทป์ ฟีโนไทป์ RR หมู่เลือด Rh + Rr หมู่เลือด Rh+ rr หมู่เลือด Rh-
1 2 Erythoblastosis fetalis 3 4
Retinoblastoma - ยีนเด่นบน chromosome คู่ที่ 13 - 2 allele (+,rb) - ++ ,+rb เป็นมะเร็งที่เรตินา - rbrb ไม่เป็นมะเร็งที่เรตินา - พบ 1 ใน 20,000 คน
Thalassemia α– thalassemia ยีนด้อยบน chromosome คู่ที่ 16 – thalassemia ยีนด้อยบน chromosome คู่ที่ 11
โรคเลือดจางทาลัสซีเมียแบ่งได้โรคเลือดจางทาลัสซีเมียแบ่งได้ ชนิดรุนแรงมาก ทำให้ทารกตาย ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ชนิดที่ทำให้ผู้ป่วยซีดมากต้องได้ รับเลือดประจำ บางชนิดแทบไม่มีอาการผิดปกติ เพียงซีดเล็กน้อย
ลูกของคุณมีโอกาสเสี่ยงแค่ไหนต่อการเป็นลูกของคุณมีโอกาสเสี่ยงแค่ไหนต่อการเป็น โรคเลือดจางทาลัสซีเมีย
2.Gene in sex chromosome การทดลองของ T.H. Morgan และคณะ
1. Color blindness 2. Hemophilia 3. Glucose-6-phosphate dehydrogenase deficiency (G-6-PD) 4. Muscular dystrophy Gene in sex chromosome X - linked gene
1. Color blindness เป็นยีนด้อยที่เกิดจากแอลลีลที่อยู่บนโครโมโซม X กำหนดให้ XC = ปกติ Xc = ตาบอดสี ผู้ชายมีโอกาสเป็น โรคตาบอดสีมากกว่า เพศหญิง
2. Hemophilia เป็นพันธุกรรมแบบด้อยที่เกิดจากแอลลีลบนโครโมโซม X กำหนดให้ XH = ปกติ Xh = Hemophilia พบในเพศชาย มากกว่าเพศหญิง โดยรับอัลลีลจากแม่ที่เป็นพาหะ
3. Glucose-6-phosphate dydrogenase deficiency (G-6-PD) เป็นพันธุกรรมแบบด้อยที่เกิดจากแอลลีลบนโครโมโซม X กำหนดให้ XG= ปกติ Xg =G-6-PD พบในเพศชาย มากกว่าเพศหญิง ประเทศไทยพบชายที่เป็นโรคนี้ถึง 12-14 %
4. Muscular dystrophy ยีนที่ทำให้เกิดโรคอยู่บนโครโมโซมเพศ แบบ sex – linkage gene เกิดจากยีนด้อยบนโครโมโซม X - โรค Duchenne Muscular Dystrophy - อาการคือ กล้ามเนื้อแขนขาลีบหรือกล้ามเนื้อสลาย - เมื่อมีอายุมากขึ้นกล้ามเนื้อแขนขาจะลีบเล็กไม่สามารถมีชีวิตปกติได้ - ตายเพราะกล้ามเนื้อหัวใจไม่ทำงาน
Gene in sex chromosome Y - linked gene
ยีนที่ทำหน้าที่กำหนดการสร้างอวัยวะเพศชายและควบคุมยีนอื่น ๆ ที่แสดง ฟีโนไทป์ของเพศชาย TDF gene Hair earpinnae or Hypertrichosis ยีนที่ควบคุมขนที่ขึ้นในรูหูหรือที่ขอบหู พบในกลุ่มชาวอินเดียวและชาวตะวันออกกลาง
3. Linked genes คือ ยีนที่อยู่บนโครโมโซมเดียวกัน
ถูกถ่ายทอดไปพร้อมกันโดยไม่แยกตัวเป็นถูกถ่ายทอดไปพร้อมกันโดยไม่แยกตัวเป็น อิสระตามกฎข้อที่ 2 ของเมนเดล linked gene
ตามกฎแห่งการแยกและการรวมกลุ่มอย่างอิสระของเมนเดล ต้นสูงไม่มีขนและต้นเตี้ยมีขนในรุ่นพ่อแม่ จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่มีจีโนไทป์แบบใดได้บ้าง?
ถ้ายีนที่แสดงต้นสูงอยู่ในโครโมโซมเดียวกับยีนที่แสดงลักษณะที่ ไม่มีขน จากการทดลอง มะเขือเทศในรุ่นพ่อแม่จะสร้างเซลล์สืบพันธุ์แบบใดได้บ้าง?
Linked gene - ไม่จำเป็นต้องถ่ายทอดไปด้วยกันเสมอไป - เนื่องเกิด ในจากการแบ่งเซลล์แบบ meiosis เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธุ์ Crossing over Gene recombination
parental type gamete = P.T หรือnon crossover type gamate เซลล์สืบพันธุ์ที่ได้จากโครมาทิดที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเกิดครอสซิงโอเวอร์ crossover type gamete หรือ recombinant type gamete = R.T เซลล์สืบพันธุ์ที่ได้จากโครมาทิดที่เกิดครอสซิงโอเวอร์
กรณีจีโนไทป์ AaBb เมื่อยีนทั้ง 2 ตำแหน่งนี้อยู่บนโครโมโซมเดียวกัน จะมีการจัดเรียงตัวของยีนบนโครโมโซมได้ 2 สภาพ คือ คือสภาพที่ยีนเด่นของทั้ง 2 ตำแหน่งอยู่บน โครโมโซมหนึ่งและยีนด้อยของทั้ง 2 ตำแหน่ง อยู่บนอีกโครโมโซมหนึ่ง ซึ่งเป็นคู่กัน A B a b P.T คือ …………………R.T คือ ………………… 1. Coupling phase
2. repulsion phase คือสภาพที่ยีนเด่นของตำแหน่งหนึ่งและ ยีนด้อยของอีกตำแหน่งหนึ่ง อยู่บน โครโมโซมเดียวกัน A b a B P.T คือ ……………………………… R.T คือ ……………………………
Linked gene PARENTAL TYPE RECOMBINATION TYPE
จำนวนการเกิดครอสซิงโอเวอร์จำนวนการเกิดครอสซิงโอเวอร์ % recombination = ½ % crossing over Ex.การผลิตละอองเกสร (pollen grain)เริ่มต้นจาก ไมโครสปอโรไซต์ 100 เซลล์ ถ้าเกิดครอสซิงโอเวอร์ 60 %จะสามารถหา % recombinationได้อย่างไร?
Sex influenced gene ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วย Autosomal gene ซึ่งแสดงลักษณะเด่นในเพศหนึ่ง แต่ แสดงลักษณะด้อยในอีกเพศหนึ่ง เนื่องจากฮอร์โมนเพศมีผลต่อการแสดงลักษณะเด่น - ลักษณะด้อยตัวอย่างเช่น การมีเขาของ ลูกผสมแกะดอร์เซท-ซัฟโฟล์ก
ตัวอย่างเช่น ลักษณะศีรษะล้านก่อนวัยที่เกิดจากยีน
Sex limited gene ฮอร์โมนเพศมีผลต่อการแสดงออกของลักษณะพันธุกรรม ที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนออโตโซม ทำให้แสดงออกในเพศใดเพศหนึ่งเท่านั้น