510 likes | 524 Views
การตรวจสอบคุณภาพวารสาร เพื่อตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ. ฝ่ายบริการสารสนเทศ สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร. ฐานข้อมูล Citation Database. ทำไม ต้องใช้ SCOPUS และ Web of Science ?.
E N D
การตรวจสอบคุณภาพวารสารเพื่อตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการการตรวจสอบคุณภาพวารสารเพื่อตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ ฝ่ายบริการสารสนเทศ สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร
ทำไมต้องใช้ SCOPUS และ Web of Science ? หน่วยงานจัดอันดับมหาวิทยาลัย เช่น QS Ranking University / Time Higher Education และสกอ. ใช้ข้อมูลการจัดอันดับมหาวิทยาลัย ส่วนหนึ่งจากผลงานการตีพิมพ์ของอาจารย์-นักวิจัยมหาวิทยาลัยนั้น ๆ • สถาบันการศึกษาให้ความเชื่อมั่นผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ผลงานในวารสารวิชาการในฐานข้อมูลสากล • สถาบันฯ ใช้ค่าการอ้างอิง เป็นเกณฑ์เพื่อหานักวิจัยดีเด่น การให้คะแนน การให้รางวัล ฯลฯ • SCOPUS – Web of Science เป็นฐานข้อมูลที่ให้ข้อมูลผลงานวิชาการจานวนมากที่ถูกทา index ทำให้เห็นความเชื่อมโยงการอ้างอิงของข้อมูลในหลายมิติ
ฐานข้อมูลWeb of Science 1 5 ฐานข้อมูลดรรชนี และสาระสังเขป ใช้ข้อมูลได้ตั้งแต่ปี 2001 - ปีปัจจุบัน 2 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย 6 ครอบคลุมเอกสารวิชาการสหสาขาวิชา 3 7 เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัท Clarivate Analytics ใช้ภายในเครือข่ายมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หรือติดตั้ง PSU VPN กรณีใช้งานจากเครือข่ายภายนอก 4 มีข้อมูลวารสารกว่า 12,000 ชื่อเรื่อง
เข้าใช้งานได้จากหน้าเว็บไซต์ห้องสมุด Clib.psu.ac.th
Web of Science วารสาร กลุ่ม 1 วารสาร กลุ่ม 2
ตรวจสอบรายชื่อวารสารทั้งหมดใน Web of Science : http://mjl.clarivate.com/ วิธีที่ 1 ใส่คำค้น เช่น ชื่อวารสาร จะใส่ชื่อเต็ม หรือ หากจำไม่ได้ ให้ใส่เฉพาะคีย์เวริ์ดสั้น ๆ 1 1 ระบุเขตข้อมูล 2 2 3 คลิก Search เพื่อค้นหา 3
ตรวจสอบรายชื่อวารสารทั้งหมดใน Web of Science : http://mjl.clarivate.com/ วิธีที่ 2 เลือกวารสารตามกลุ่มสาขา 1 1
ตรวจสอบรายชื่อวารสารทั้งหมดใน Web of Science : http://mjl.clarivate.com/ วิธีที่ 2.1
ตรวจสอบรายชื่อวารสารทั้งหมดใน Web of Science : http://mjl.clarivate.com/ ค้นวารสารแบบเรียงตามตัวอักษร วิธีที่ 2.2
ตรวจสอบรายชื่อวารสารทั้งหมดใน Web of Science : http://mjl.clarivate.com/ ค้นวารสารแบบเลือกหมวดหมู่สาขา วิธีที่ 2.3 1
ตรวจสอบรายชื่อวารสารทั้งหมดใน Web of Science : http://mjl.clarivate.com/ ฐานข้อมูลวารสาร กลุ่ม 1 ฐานข้อมูลวารสาร กลุ่ม 2
ตรวจสอบรายละเอียอดของวารสารตรวจสอบรายละเอียอดของวารสาร 1 2 ค่า Q (Quartile) Publication Year 3 Link ของชื่อวารสาร ปรากฏปีพิมพ์จนถึงปีปัจจุบันหรือไหม? คลิก Link ของชื่อวารสารได้หรือไม่ ค่า Q มี 4 ค่า... Q1, Q2, Q3, Q4 มีค่า Q เป็นปัจจุบันและทันสมัย หรือไม่
ตรวจสอบรายละเอียดของวารสารตรวจสอบรายละเอียดของวารสาร 1 3 2 ระบุเขตข้อมูล Publication Name คลิก Search 1 2 3 ใส่ชื่อวารสาร
ตรวจสอบรายละเอียอดของวารสาร (ตัวอย่างที่ 1) *กรณีนี้ Link ของชื่อวารสารใช้งานได้ 1 ปีพิมพ์ไม่เป็นปัจจุบัน ข้อมูล Q เป็นของปี 2013 2 สรุป : ปัจจุบันวารสารชื่อนี้โดนถอดออกจาก Web of Science เรียบร้อยแล้ว ที่มีคือข้อมูลเก่าเท่านั้น ไม่แนะนำให้ตีพิมพ์ผลงาน 2 1
ตรวจสอบรายละเอียอดของวารสาร (ตัวอย่างที่ 2) ปรากฏปีพิมพ์จนถึงปัจจุบัน 1 Link ของชื่อวารสารคลิกไม่ได้ 2 2 ไม่มีค่า Q 3 สรุป : ให้คิดว่าอยู่ในฐานข้อมูลวารสารกลุ่ม 2 (Emerging Sources) ไม่แนะนำให้ตีพิมพ์ผลงาน 1
การค้นด้วยชื่อผู้แต่งการค้นด้วยชื่อผู้แต่ง 1 2 3
การค้นด้วยชื่อผู้แต่งการค้นด้วยชื่อผู้แต่ง แสดงผลลัพธ์ผลงานทั้งหมดของผู้แต่ง เลือก Analyze Results
การค้นด้วยชื่อผู้แต่งการค้นด้วยชื่อผู้แต่ง แสดงผลการ Analyze Results สามารถเลือก Analyze ได้ตามที่ต้องการ เช่น วารสารที่ตีพิมพ์ สาขาวิชาของงานวิจัย เป็นต้น
การค้นด้วยชื่อผู้แต่งการค้นด้วยชื่อผู้แต่ง แสดงผลการ Analyze Results
การค้นด้วยชื่อสถาบัน 1 2 3
การค้นด้วยชื่อสถาบัน แสดงผลงานทั้งหมดของมหาวิทยาลัย เลือก Analyze Results
การค้นด้วยชื่อสถาบัน แสดงผลการ Analyze Results สามารถเลือก Analyze ได้ตามที่ต้องการ เช่น วารสารที่ตีพิมพ์ สาขาวิชาของงานวิจัย เป็นต้น
ฐานข้อมูลScopus 1 5 ฐานข้อมูลดรรชนี และสาระสังเขป ใช้ข้อมูลได้ตั้งแต่ปี 1960 - ปีปัจจุบัน 2 สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลงฯ เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย 6 ครอบคลุมเอกสารวิชาการสหสาขาวิชา 3 7 • เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัท Elsevier ใช้ภายในเครือข่ายมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หรือติดตั้ง PSU VPN กรณีใช้งานจากเครือข่ายภายนอก 4 มีข้อมูลวารสารกว่า 15,000 ชื่อเรื่อง
เข้าใช้งานได้จากหน้าเว็บไซต์ห้องสมุด Clib.psu.ac.th
ฐานข้อมูลScopushttps://www.scopus.com ค้นจากชื่อผู้แต่ง ค้นจากชื่อสถาบัน ค้นจากชื่อเอกสาร ค้นจากชื่อวารสาร ตรวจสอบรายชื่อวารสารทั้งหมดในฐานข้อมูล Scopus
ฐานข้อมูลScopushttps://www.scopus.com ตรวจสอบรายชื่อวารสารทั้งหมดในฐานข้อมูล Scopus ตรวจสอบรายชื่อวารสารทั้งหมดในฐานข้อมูล Scopus ตรวจสอบรายชื่อวารสารทั้งหมดในฐานข้อมูล Scopus 1 1
ฐานข้อมูลScopushttps://www.scopus.com ตรวจสอบรายชื่อวารสารทั้งหมดในฐานข้อมูล Scopus ค้นจากชื่อวารสาร
ฐานข้อมูลScopushttps://www.scopus.com ดัชนีชี้วัดคุณภาพสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง คำนวณจากค่าเฉลี่ยจำนวนการถูกอ้างอิงในปีปฏิทินของบทความทั้งหมดในวารสารชื่อนั้น ๆ ย้อนหลัง 3 ปี ค่าเฉลี่ยจำนวนครั้งที่บทความได้รับการอ้างอิง ดูจากสิ่งที่เกี่ยวข้อง เช่น ประเมินในกลุ่มวารสารในสาขาวิชาเดียวกัน
ฐานข้อมูลScopushttps://www.scopus.com ค้นจากชื่อผู้แต่ง 1 2 3
ฐานข้อมูลScopushttps://www.scopus.com คลิกชื่อผู้แต่งเพื่อดูการวิเคราะห์ผู้แต่ง
ฐานข้อมูลScopushttps://www.scopus.com คลิก Analyze author output
ฐานข้อมูลScopushttps://www.scopus.com แสดงผลลัพธ์ของการ Analyze author output
ฐานข้อมูลScopushttps://www.scopus.com แสดงผลลัพธ์ของการ Analyze author output
ฐานข้อมูลScopushttps://www.scopus.com ค้นจากชื่อสถาบัน 1 2
ฐานข้อมูลScopushttps://www.scopus.com คลิกชื่อสถาบันเพื่อดูรายงาน
ฐานข้อมูลScopushttps://www.scopus.com แสดงจำนวนเอกสารทั้งหมด วารสารที่ตีพิมพ์ทั้งหมด สาขางานวิจัยทั้งหมด
Scimago Journal (www.scimagojr.com) ตรวจสอบการจัดอันดับวารสาร ด้วยค่า SJRค่าควอไทล์ และ ค่า h-indexโดยอาศัยข้อมูลจากฐานข้อมูล Scopus
Scimago Journal (www.scimagojr.com) • ค่า h-index คือ ตัวเลขที่แสดง "จำนวนผลงานวิจัย" ของผู้วิจัย ที่มีจำนวนครั้งของการอ้างอิงเท่ากับหรือมากกว่าจำนวนผลงานวิจัยนั้น ๆ • ค่า h-index สามารถใช้วัดได้ทั้งนักวิจัย หน่วยงาน สถาบัน วารสาร และประเทศ แสดงค่า H-index แสดงค่า Quartier • ค่า h-index สามารถสืบค้นได้จากฐานข้อมูล Web of Science, Scopus, SCImagoและ Google Scholar โดยแต่ละแหล่งอาจแสดงค่า h-index ได้ผลลัพธ์ไม่เท่ากัน ทั้งนี้ขึ้นกับข้อจำกัดของประเภทของสิ่งพิมพ์ จำนวนสิ่งพิมพ์ และจำนวนปีพิมพ์ที่ครอบคลุม • ตัวอย่าง นักวิจัยท่านหนึ่งมีค่า h-index = 15 หมายความว่า นักวิจัยท่านนั้นมีผลงานจำนวน 15 บทความ (จากจำนวนทั้งหมด) ที่ได้รับการอ้างอิง 15 ครั้งหรือมากกว่า
1 5 2 6 3 7 4
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/2558/Announced/News.htmlhttp://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/2558/Announced/News.html • ศูนย์ TCI ได้แบ่งกลุ่มวารสารในฐานข้อมูลออกเป็น 3 กลุ่ม คือวารสารกลุ่มที่ 1 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCIและจะถูกคัดเลือกเข้าสู่ฐานข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI) ต่อไป • วารสารกลุ่มที่ 2 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI • วารสารกลุ่มที่ 3 : วารสารที่ไม่ผ่านการรับรองคุณภาพ และอาจไม่ปรากฎอยู่ในฐานข้อมูล TCI ในอนาคต สรุปจำนวนวารสารที่ได้รับการประเมินคุณภาพวารสารวิชาการที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI รอบที่ 3 พ.ศ. 2558 http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/2558/Announced/News.html
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/announcement_58.php http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/announcement_58.php
ค่า Thai-Journal Impact Factor (T-JIF) ค่า Thai-Journal Impact Factor (T-JIF) http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/T-JIF.html
ค่า Thai-Journal Impact Factor (T-JIF) ฐานข้อมูล Pubmed https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed
ค่า Thai-Journal Impact Factor (T-JIF) ฐานข้อมูล Pubmed ใส่ชื่อวารสาร คลิก Search
ค่า Thai-Journal Impact Factor (T-JIF) ฐานข้อมูล Pubmed • หน้าแสดงผลลัพธ์ • เลือกวารสารที่ต้องการ