401 likes | 725 Views
หน่วยที่ 1. แนะนำโปรแกรม Swish max. รู้จัก Swish Max. โปรแกรม Swish Max เป็นโปรแกรมที่ใช้สร้างภาพเคลื่อนไหว สามารถสร้างชิ้นงานภาพเคลื่อนไหวของ Macromedia Flash โดยไม่จำเป็นจะต้องใช้ฟังก์ชั่นของโปรแกรม Macromedia Flash ที่ยุ่งยาก เพียงแค่ใช้เครื่องมือที่โปรแกรมมีมาให้เท่านั้น
E N D
หน่วยที่ 1 แนะนำโปรแกรม Swish max
รู้จัก Swish Max โปรแกรม Swish Max เป็นโปรแกรมที่ใช้สร้างภาพเคลื่อนไหว สามารถสร้างชิ้นงานภาพเคลื่อนไหวของ Macromedia Flash โดยไม่จำเป็นจะต้องใช้ฟังก์ชั่นของโปรแกรม Macromedia Flash ที่ยุ่งยาก เพียงแค่ใช้เครื่องมือที่โปรแกรมมีมาให้เท่านั้น ซึ่งใช้งานได้ง่าย สามารถสร้างลูกเล่นที่ซับซ้อนด้วย ตัวอักษร รูปภาพ การวาดเขียน และเสียง ซึ่งใช้เวลาไม่นาน
โปรแกรม Swish Max สามารถที่จะนำเสนองานในรูปแบบของไฟล์ Shock wave Flash (.swf) ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการสร้างเว็บเพจได้ และ ยังสามารถแปลงเป็นไฟล์ aviซึ่งใช้ในการตัดต่อภาพยนตร์ได้อีกด้วย
การเรียกใช้โปรแกรม 1.คลิ้กปุ่ม Start 2.เลือก Programs > Swish Max > Swish Max
หน่วยที่ 2 ทำความรู้จักกับโปรแกรม Swish Max
ส่วนประกอบบนหน้าจอ 1.Main menu 3. Control Toolbar 2. Standard Toolbar 4. Timeline Panel 6. Layout Panel 7. Toolbox 8. Option View 5. Outline Panel 9.Stratus Bar
1.Main menu Main Menu คือ เมนูที่ใช้แสดงชุดคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรม SWiSHmaxเมื่อคลิกเลือกเมนูคำสั่ง จะปรากฏคำสั่งย่อยให้เลือก ตามต้องการ
2.Standard Toolbar Standard Toolbar เป็น Toolbar ที่รวบรวมเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในการจัดการกับไฟล์และข้อมูล จะมีลักษณะเช่นเดียวกับโปรแกรมพื้นฐานทั่วไป เช่น โปรแกรม Microsoft Office แต่จะมีเครื่องมือที่ต่างกัน
3.Control Toolbar Control Toolbar เป็น Toolbar ที่รวบรวมเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมการทำงานของ Movie
4. Timeline Panel Timeline Panel แถบแสดงเวลาซึ่งจะมีลักษณะเป็นแถบสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว แบ่งเป็นช่องเล็กๆหลายอันซึ่งเรียกว่า Frame โดยจะเป็นตัวบ่งบอกถึงการกระทำในแต่ละเวลา อีกทั้งยังมีปุ่มที่ใช้ในการเพิ่มลูกเล่นอีกด้วย
5. Outline Panel Outline Panel บริเวณซึ่งแสดงโครงร่างอันดับชั้นของวัตถุที่สร้างขึ้นในไฟล์ภาพยนตร์โดยมีลักษณะเป็นชั้นที่ซ้อนทับกันตามลำดับก่อนหลังซึ่งวัตถุที่อยู่ชั้นสูงกว่าจะอยู่ข้างหน้าของวัตถุที่อยู่ในชั้นต่ำกว่าภายใน Scene เดียวกัน
6. Layout Panel Layout Panel บริเวณแสดงผลของชิ้นงานไฟล์ภาพยนตร์ที่ทำซึ่งเราแก้ไขและสร้างชิ้นงาน
7. Toolbox Toolbox หรือกล่องเครื่องมือที่ใช้สำหรับเครื่องมือพื้นฐานทั่วไป
8. Option View Option View เป็นกลุ่มเครื่องมือที่ใช้สำหรับปรับขนาดมุมมองของ Workspace ให้เป็นไปตามต้องการ
9. Stratus Bar Stratus Bar ส่วนล่างสุดของจอภาพ จะแสดงคำสั่ง หรือแสดงชื่อของเครื่องมือใน Toolbox ที่กำลังใช้งาน เมื่อเลื่อนเมาส์ไปชี้ยังตำแหน่งของเครื่องมือต่าง ๆ หรือแสดงขนาดของไฟล์ SWF
หน่วยที่ 3 การใช้งานเครื่องมือ (Tool)
หน่วยที่ 4 การสร้างและตกแต่งข้อความ (Text)
การใช้เครื่องมือในการเขียนข้อความการใช้เครื่องมือในการเขียนข้อความ 1. คลิ้กที่เมนู Insert>Text หรือ คลิ้กที่ปุ่มรูปตัว T ดังภาพ
2. พิม พ์ข้อความที่ต้อ ง ก า ร ใ นหน้าต่าง Text ทางด้านขวา โดยสามารถปรับรูปแบบ ขนาด สีของตัวอักษรได้ 3. ถ้าต้องการลบหรือแก้ไข ข้อความทำได้โดยคลิ้กที่ ช่องพิมพ์ข้อความในหน้าต่าง Text แล้วทำการแก้ไข
การตกแต่ง ใส่สี และปรับขนาด เมื่อเราสร้างข้อความเรียบร้อยแล้วให้ทำการเปลี่ยน Font Style, Font Size, Font Color 1. เลือก Text Object ที่ต้องการ > เปลี่ยนแปลงค่าต่างๆที่ Properties Panel ตัวหนา, ตัวเอียง รูปแบบอักษร สีของตัวอักษร ทิศทางการไหล ของตัวอักษร ขนาดตัวอักษร จัดตำแหน่งข้อความ
2. ผลลัพธ์ที่ได้จากการปรับแต่ง
การใส่ Effect ให้กับตัวอักษร 1 เมื่อทำการ พิมพ์ข้อความเสร็จแล้ว ให้เราเอาเมาส์ไปคลิดเลือกที่ตัวอักษรที่เราสร้าง
2 คลิกปุ่ม เพื่อเพิ่มEffect ให้กับตัวอักษร
4 ปรับแต่ค่าต่างๆ ตามต้องการ โดยกดปุ่ม 5 จากนั้น คลิกที่ปุ่ม เพื่อยอมรับค่าที่กำหนด บน Timeline
6 คลิกปุ่ม บน Control toolbar ข้อความ จะเล่นไปเลื่อยๆจนกว่าจะ คลิกปุ่ม เพื่อทำการหยุดเล่น
หน่วยที่ 5 การสร้างภาพกราฟฟิก (Image)
สาระสำคัญ • ในหน่วยนี้จะเป็นการกล่าวถึง การสร้างภาพกราฟฟิกในลักษณะต่างๆ เรื่องของการวาดภาพ การนำภาพกราฟฟิกเข้ามาใช้งาน การปรับแต่งภาพ การทำงานกับสีของโปรแกรม Swishmax โดยสร้างภาพจากชุดเครื่องมือ ได้แก่ Toolbox, Tool Options และ View Options ให้เป็น Object Shape, Object Image
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ • สามารถทำการวาดรูปโดยใช้เครื่องมือต่างๆได้ • สามารถตกแต่งภาพและเลือกใช้เครื่องมือ • ได้ถูกต้อง
ขั้นตอนที่1 การสร้างชิ้นงานใหม่ เปิดโปรแกรม SwishMax2 • 1.คลิ้กที่เมนู File>New
ขั้นตอนที่ 2 การแทรกข้อความลงในชิ้นงาน 1. คลิ้กที่เมนู Insert>Text หรือ คลิ้กที่ปุ่มรูปตัว T ดังภาพ 2. พิมพ์ข้อความที่ต้องการในหน้าต่าง Text ทางด้านขวา โดยสามารถปรับรูปแบบ ขนาด สี ของตัวอักษรได้ 3. ถ้าต้องการลบหรือแก้ไขข้อความ ทำได้โดยคลิ้กที่ช่องพิมพ์ข้อความในหน้าต่าง Text แล้วทำการแก้ไข
พิมพ์ข้อความ “วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู”
ใช้เครื่องมือสร้าง วัตถุ (Object)
ตกแต่งวัตถุ (Object) ให้สวยงาม
ขั้นตอนที่ 3 ใส่ Effect • 1. คลิกเลือกวัตถุที่ต้องการจะใส่Effect • 2. นำ mouse ไปคลิกที่ Timeline เพื่อกำหนดจุดเริ่มต้นของการใส่Effect • 3. คลิกปุ่ม Add Effectเพื่อเลือกใช้ Effect • 4. กำหนดระยะเวลาในการเล่น Effect บน Timeline
ขั้นตอนที่ 4การบันทึกชิ้นงานที่สร้างขึ้น 1. คลิ้กที่ปุ่ม File>Save 2. ตั้งชื่อไฟล์ตามต้องการแล้วคลิ้กที่ปุ่ม Save
ขั้นตอนที่ 5 การ Export ชิ้นงานที่สร้างขึ้นไปใช้ โปรแกรม Swish สามารถ Export ไฟล์จาก .swi(นามสกุลของโปรแกรม Swish) ไป เป็น .swf , .html , .exe , .aviได้ 1. เลือกเมนู File>Export 2. เลือกชนิดของไฟล์ที่ต้องการเปลี่ยน
3. โปรแกรมจะขึ้นหน้าต่าง ให้ตั้งชื่อไฟล์ตามต้องการแล้วคลิ้กที่ปุ่มSave
ใบงานที่ 5 ให้นักเรียนสร้าง Animation โดยสร้างภาพจากชุดเครื่องมือ ได้แก่ Toolbox, Tool Options และ View Options ให้เป็น Object Shape, Object Image