370 likes | 650 Views
บทที่ 2. การพัฒนาบุคลิกภาพ. ( PERSONALITY DEVELOPMENT ). บทนำ :- > บุคลิกภาพที่ดีสร้างความมั่นใจ ความประทับใจ ความน่าเชื่อถือ > ไม่มีบุคลิกภาพใดดีที่สุด เพราะยังสามารถปรับปรุง ได้ตลอดเวลา > ไม่มีใครดีจนไม่มีที่ติ และไม่มีใครเลวจนไม่มีที่ชม
E N D
บทที่ 2 การพัฒนาบุคลิกภาพ ( PERSONALITY DEVELOPMENT )
บทนำ :- >บุคลิกภาพที่ดีสร้างความมั่นใจ ความประทับใจ ความน่าเชื่อถือ >ไม่มีบุคลิกภาพใดดีที่สุด เพราะยังสามารถปรับปรุง ได้ตลอดเวลา > ไม่มีใครดีจนไม่มีที่ติ และไม่มีใครเลวจนไม่มีที่ชม >หนึ่งในวิธีที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์พฤติกรรม ของคน คือ TA
Transactional Analysis (TA) โดย Eric Beme >เป็นเครื่องมือที่ใช้วิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ ซึ่งช่วย ให้คนพบทางเลือกที่เป็นไปได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด เพื่อ พัฒนาศักยภาพของตนเองให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น > เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ความเจ็บปวดของบุคคล ในการดำเนินชีวิต > เป็นวิถีทางในการสำรวจทางเลือกที่สร้างสรรค์
โดยเฉพาะสภาวะจิตของ พ่อแม่ ผู้ใหญ่ เด็กที่รักที่ต้องการความเป็นอิสระสูง หรือเด็กที่จำเป็น ต้องปรับตัวตามสภาวการณ์ต่าง ๆลองศึกษาจากตารางพฤติกรรมต่อไปนี้ พฤติกรรมที่ชี้บ่งสภาวะจิต วางมาด, บึ้งตึง, กอดอก, เม้มปาก, เท้าสะเอว, ส่ายหน้า, เชิดหน้า, ชี้นิ้ว, กระทืบเท้า,กำหมัด Critical Parent (CP) พ่อแม่แบบเคร่งครัด เฉียบขาด, มีมาด, ห้ามปราม, สั่งสอน ใช้อำนาจการ บังคับ การเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว อย่า ต้อง ควร Nurturing Patent (NP) พ่อแม่แบบผู้โอบอ้อม ห่วงใย, อ่อนโยน, นุ่มนวล, เยี่ยมมาก วิเศษ โอบกอด, ตบหลัง, ลูบหัว,ใกล้ชิด, ยกนิ้วให้,อ้าแขน ให้ความเมตตา ปราณีการเปลี่ยน แปลงอย่างช้าๆ
โดยเฉพาะสภาวะจิตของ พ่อแม่ ผู้ใหญ่ เด็กที่รักที่ต้องการความเป็นอิสระสูง หรือเด็กที่จำเป็น ต้องปรับตัวตามสภาวการณ์ต่าง ๆลองศึกษาจากตารางพฤติกรรมต่อไปนี้ พฤติกรรมที่ชี้บ่งสภาวะจิต ( ต่อ) ราบเรียบ, เยือกเย็น, ชัดเจนตรงเป้า “คำถาม” ตัวเลข ปริมาณ ข้อมูล ตั้งใจฟัง, สงบ, ไม่แสดงอารมณ์, ความรู้สึก, สบตา, ไม่เครียดครุ่นคิด Adult (A) ผู้ใหญ่ ยึดข้อมูล ข้อเท็จจริง เป็นสำคัญ เสียงดัง, เสียงสูง, แสดงความ รู้สึกชัดเจน ตื่นเต้น,หัวเราะ, ยิ้มกว้างขวาง, เคลื่อนไหว รีบร้อน มีพลัง Free Child (FC) เด็กเสรี สร้างความมั่นใจ แสวงหาความ จริงและพึ่งตนเอง โอ้โฮ, ภาษา แปลกๆ
โดยเฉพาะสภาวะจิตของ พ่อแม่ ผู้ใหญ่ เด็กที่รักที่ต้องการความเป็นอิสระสูง หรือเด็กที่จำเป็น ต้องปรับตัวตามสภาวการณ์ต่าง ๆลองศึกษาจากตารางพฤติกรรมต่อไปนี้ พฤติกรรมที่ชี้บ่งสภาวะจิต ( ต่อ) Adaptive Child (AC) พึมพำ, สั่น, บางคราวดัง เพราะมีอารมณ์ โอดครวญ ครับผม, เจ้าคะ, ไม่ได้ เก็บตัว, ยอมตาม, งอแง, งอน, ช่างเอาใจ ดื้อรั้น, กัดเล็บ, หลบตา ใช้เล่ห์เหลี่ยม เพื่อเอาอย่างใจ
การแปลความหมายสภาวะจิตการแปลความหมายสภาวะจิต Cp = Critical Parent หมายถึง พ่อแม่ ที่วิพากษ์วิจารณ์ ควบคุมลักษณะสภาวะจิตของเด็ก จะทำให้เด็กรู้สึกไม่ดี มักใช้คำว่า “ควร” หรือ “ต้อง” ตลอดเวลา NP = Nurturing Parent หมายถึง พ่อแม่ ที่โอบอ้อมอารี มีความเข้าใจและเป็นห่วงเป็นใยต่อบุคคล
การแปลความหมายสภาวะจิต ( ต่อ ) A = Adult หมายถึง สภาวะจิตแบบผู้ใหญ่ มักจะมีการพิจารณาจากข้อเท็จจริง ก่อนตัดสินใจ FC = Free Child หมายถึง เด็กที่รักความเป็นอิสระ มักทำอะไรตามใจตนเอง AC = Adaptive Child หมายถึง เด็กที่อยากให้คนตามใจขาดความมั่นใจในตัวเอง และพยายามหาทางให้ตัวเองสมหวัง
TA = ข้อเสนอแนะเพื่อชีวิตที่มีความสุข 1. มนุษย์ทุกคนมีศักดิ์ศรี มีคุณค่า น่านับถือมาตั้งแต่เกิด ดังนั้นควรยอมรับนับถืออย่างจริงใจ 2. การมองเห็นข้อบกพร่องของผู้อื่นเป็นเรื่องง่าย แต่มักมองข้ามข้อบกพร่องของตนเอง 3. ถ้าสมควรต้องแสดงความโกรธ ความกลัว ความเศร้า ต้องให้เหมาะกับกาลเทศะ 4. ต้องรับผิดชอบความคิด ความรู้สึก พฤติกรรมของตนเอง “ ชีวิตที่มีความสุขคือ ชีวิตที่สังคมยอมรับ และยอมรับสังคมนั้นๆ ”
(Nature of the human Being) ธรรมชาติของมนุษย์ • > การศึกษาธรรมชาติของมนุษย์ จะทำให้รู้จัก “ตนเอง” และ • “ผู้อื่น” • > ธรรมชาติของมนุษย์ที่พบเห็นและเป็นอยู่มีทั้งสร้างสรรค์ • และทำลาย • อิจฉา – ริษยา ความชอบ – ไม่ชอบ 2. กตัญญู – อาฆาต • รักตน – รักพวกพ้อง 4. ความรู้สึกร่วมในการทำงาน • ผลประโยชน์ที่เป็นนามธรรม 6. ความจริงใจ – ไม่จริงใจ
การศึกษาธรรมชาติในตัวเองการศึกษาธรรมชาติในตัวเอง โดยธรรมชาติเรามักมองและวิเคราะห์ผู้อื่น แต่ตัวของตนเองเรากลับมองไม่เห็น จนกว่าจะส่องกระจกจึงจะเห็นภาพตัวเอง ทั้งนี้เพราะ รู้เรื่องตนเองหมดแล้ว ไม่อยากรู้เรื่องตนเอง ไม่ค่อยเข้าใจตนเอง คิดว่าตนเองดีอยู่แล้ว มีความลำเอียงเข้าข้างตนเอง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ธรรมชาติของตนเองปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ธรรมชาติของตนเอง คนอื่นคิดว่า เราเป็น เราอยากเป็น อยากให้เขา คนเห็นแก่ตัว คนอยากดัง - เข้าใจ - ชื่นชม เราคิดว่าเราเป็น คนดี....จนคนอื่นอิจฉา
แบบประเมินบุคลิกภาพตามพฤติกรรมและการแสดงออกแบบประเมินบุคลิกภาพตามพฤติกรรมและการแสดงออก - น้ำเสียง - รูปร่าง - หน้าตา - ท่าทาง - อารมณ์ - ความรับผิดชอบ - การวางตน - การคบหาสมาคม กับผู้อื่น
เกณฑ์ 5 = ดีที่สุด 4= ดีมาก 3= ดี 2= พอใช้ 1= ต้องแก้ไข
คุณสมบัติของบุคลิกภาพที่แสดงออกเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์คุณสมบัติของบุคลิกภาพที่แสดงออกเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ น้ำเสียง : ดังพอประมาณ เสียงใส นุ่ม รูปร่าง : ได้ส่วนสัดตามมาตรฐานทั้งส่วนสูง น้ำหนัก และอายุ หน้าตา: สวย หล่อ สะอาดหมดจด ท่าทาง : การเคลื่อนไหว (Movements ) มีจังหวะ ไม่ลุกลี้ลุกลน อารมณ์ : มั่นคง ไม่อ่อนไหวง่าย ความรับผิดชอบ : ทำงานเสร็จทันเวลา ผลงานมีคุณภาพ การวางตน : มีจุดยืนที่น่าเชื่อถือ และประทับใจ การคบหาสมาคมกับผู้อื่น: เป็นมิตร ไม่ตระหนี่คำพูด ความมีน้ำใจต่อมิตร
เรื่องที่ควรวิเคราะห์ตนเองเรื่องที่ควรวิเคราะห์ตนเอง ความรู้ความสามารถ บุคลิกภาพด้านอุปนิสัย สุขภาพทางกาย ความรับผิดชอบ หน้าที่การงานในสังคม สถานภาพทางเศรษฐกิจ
การรู้จักผู้อื่น สิ่งที่เหมือนกันในตัวบุคคล “นิสัยพื้นฐานของมนุษย์” อยากเด่นอยากดัง มีชื่อเสียง ไม่ชอบให้ใครโต้ตอบหรือโต้เถียง ชอบให้คนอื่นฟังเรื่องที่ตนพูด ชอบให้คนอื่นชม และไม่ชอบให้ใครตำหนิ ชอบคนสวย คนหล่อ หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส อยากให้คนอื่นสนใจ และเห็นว่าตนสำคัญเสมอ
การศึกษาพฤติกรรมและบุคลิกภาพของคนการศึกษาพฤติกรรมและบุคลิกภาพของคน “ดวงตาเป็นหน้าต่างของจิตใจ” “ลักษณะรูปร่างเป็นหน้าต่างของอุปนิสัยใจคอ” วิลเลี่ยม เชลคอน ( Williem Sheldon) ศึกษาลักษณะรูปร่างของบุคคลที่มีผลเกี่ยวข้องกับอุปนิสัย เพื่อการรู้จักผู้อื่น ได้แบ่งคนเป็น 3 ประเภท
ประเภทที่ 1พวกท้วม กลม อ้วน นุ่มนิ่ม( Entomorph ) ชอบทำอะไรง่ายๆ ทั้งท่าทาง และการกระทำ ชอบสังคมและ ความสนุกสนาน อารมณ์คงที่ ขาดความอ่อนหวาน ติดการให้คนเอาใจ ประเภทที่ 2พวกล่ำสัน แข็งแรง มาดนักกีฬา( Mesomorph ) มีความว่องไว กระฉับกระเฉง ชอบการผจญภัย กล้าแสดงออก จิตใจแข็งกระด้าง ไม่ชอบอยู่คนเดียว กล้าเผชิญอุปสรรค ชอบสังคม ประเภทที่ 3พวกผอมสูง และผอมบาง( Endomorph ) เฉื่อยชา ตอบสนองและเปลี่ยนความรู้สึกไว ชอบเก็บตัวอยู่คนเดียว ตื่นเต้นง่ายกับการเข้ากับคนอื่น ไม่ชอบสังคม เป็นผู้ใหญ่เกินอายุ
การศึกษาสิ่งแวดล้อมที่ใกล้ตัวที่สุดคือ…“คน”การศึกษาสิ่งแวดล้อมที่ใกล้ตัวที่สุดคือ…“คน” • คำเปรียบเปรย “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้งชนะร้อยครั้ง” “ รู้แต่เราไม่รู้เขา หรือรู้แต่เขาไม่รู้เรา รบร้อยครั้งแพ้ร้อยครั้ง ” • ถ้าสามารถหยั่งรู้ถึงจิตใจ และอุปนิสัยของเขา จะสามารถสร้างความประทับใจแก่เขาได้
ลักษณะของใบหน้าคน 20 ลักษณะ • คนที่มีลักษณะดึงดูด > มีตาแพรวพราว คล้ายส่องแสง • คนชอบวิพากษ์วิจารณ์ > มุมปากด้านนอกเฉียงลง • ตาค่อนข้างลึก • คนชอบช่วยเหลือผู้อื่น > จมูกงอน • คนหูไว ตาไว > คนหูกาง • คนขี้กังวล > คนชอบขมวดคิ้ว • คนสนใจผลประโยชน์เป็นพิเศษ > จมูกงุ้ม • คนที่มีความผูกพัน (มากเป็นพิเศษ) > ตาดำโต
ลักษณะของใบหน้าคน 20 ลักษณะ • คนที่มีความสัมพันธ์บอบบาง > ตาเล็ก (ตาดำน้อยกว่าตาขาว) • คนละเอียดอ่อน > ผิวหน้า ร่างกายละเอียดบาง • คนหยาบ > ผิวหน้า ร่างกาย แลดูหยาบ • คนง่าย ๆ > ช่วงระหว่างคิ้วห่าง • คนขึ้น ๆ ลง ๆ > ตาสองข้างต่างกันชัดเจน (สูง/ต่ำ) • คนที่ชอบกระชับริมฝีปาก > มุมปากทู่ • คนพูดมาก > ริมฝีปากหนา • คนใจน้อย (งอน) > ส่วนหนังตาบนปิดลง • มากกว่าปกติ
ลักษณะของใบหน้าคน 20 ลักษณะ • คนช่างเลือก > คิ้วกับตาห่างกัน • คนมนุษย์สัมพันธ์ดี > ใบหน้ารูปไข่ / กลม แก้มอิ่มใส • คนที่ไม่รักคำวิจารณ์ > ขอบนอกใบหู ไม่เป็นร่อง • อย่างสม่ำเสมอ • คนตัดสินใจเด็ดขาด > หวงตาคม ตามีพลัง มีประกาย • คนไม่จริงจังกับใคร > ไม่ค่อยสบตา รับปากรับคำ • ไม่เต็มเสียง
การพัฒนาตนเอง จงฝึกตนมนัสพร้อม กายา ให้ท่าที วาจา เรียบร้อย บุคคลฝึกกิริยา แลจิต เรืองรุ่งจักไม่ด้อย ต่ำล้ำ ราศี พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ทางกาย (Physical Personality) การพัฒนาบุคลิกภาพ ทางจิต (Psychological Personality) ** บุคลิกภาพภายนอก / ทางกาย - รูปร่างหน้าตา - การแต่งกาย - การปรากฏกาย - การใช้สายตา น้ำเสียง ถ้อยคำ ** บุคลิกภาพภายใน / ทางจิต - ความเชื่อมั่นในตนเอง - ความกระตือรือร้น - ความจริงใจ - ความรอบรู้และความสามารถ - ความคิดริเริ่ม - อารมณ์ - ความรับผิดชอบ - ความจำและการลืม - ปฏิภาณไหวพริบ
การพัฒนาของบุคลิกภาพ(The Development of Personality) มนุษย์มีความต้องการความก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง การพัฒนาการเบื้องต้น ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ประการ 1. เป้าหมายของการพัฒนาการ 2. อดีตกับอนาคต 3. พันธุกรรม จากขั้นการพัฒนาการที่มีความสมบูรณ์เพียงเล็กน้อย สูงยิ่ง ๆ ขึ้นไป
เป้าหมายของการพัฒนาการ (The Goal of Development) คือ การค้นหาสิ่งที่มนุษย์เสาะแสวงหา และพบว่าเป้าหมายสูงสุด คือการเข้าใจตนเอง (Self Actualization) อดีตกับอนาคต ( Causality versus Teleology) คือ บุคลิกภาพของมนุษย์ในปัจจุบัน มาจากสิ่งที่เป็นมาในอดีต และอนาคตที่ทำให้มนุษย์มีความหวังรวมกัน พันธุกรรม (Heredity) เพราะพันธุกรรมเป็นพื้นฐานของสัญชาตญาณทางชีวภาพ ซึ่ง ตอบสนองเป้าประสงค์ของการป้องกันตนเอง และเพื่อสืบเผ่าพันธุ์ อาจเป็น > ความจำ / โรคภัยไข้เจ็บในอดีต เช่น หอบหืด เบาหวาน > ประสบการณ์ / อาชีพ เช่น การเป็นนักรบ ทำธุรกิจ
ขั้นตอนการพัฒนาการตามวัย (Stage of Development) วัยเด็ก 2 ปีครึ่ง – 12 ปี วัยรุ่น 13 - 20 ปี วัยผู้ใหญ่ตอนต้น 21 – 25 ปี วัยกลางคน 26 – 60 ปี ขั้นตอน
ขั้นตอนของการพัฒนา(เป็นไป)ตามความต้องการของมนุษย์ 5 ระดับ 5. ความสมหวังในชีวิต 4. เกียรติยศ ชื่อเสียง 3. การยกย่องในสังคม 2. ความมั่นคงปลอดภัย 1. ความต้องการในการดำรงชีวิต