700 likes | 835 Views
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) : ตอนที่ 2 : 1 3 . 00 - 16. 30 น. 1 เมษายน 2553. มานพ จิตต์ภูษา. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ การพัฒนาองค์การตามแนวทาง
E N D
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA: Public Sector Management Quality Award) :ตอนที่ 2: 13.00 - 16.30 น. 1 เมษายน 2553 มานพ จิตต์ภูษา การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาองค์การตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 “ วันที่ 1 - 2 เมษายน 2553 เวลา 8.30 – 16.30 น. ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
กรอบการนำเสนอ 1.ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2.ทิศทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 3.เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level : FL) 4.กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
แนวคิดของตอนที่ 2 13.00 - 16.30 น. หลักการของเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐปี พ.ศ.2553 - ตัวชี้วัด “ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ” ระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
2. ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA “รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด ........” 100 พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด 80 Successful Level ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 10 9 8 7 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 6 5 4 3 2 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 1 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7
Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2554 2553 5 1 2 กรมด้านบริการ 6 3 4 • เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 1 3 กรมด้านนโยบาย 6 2 5 • เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 • เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Successful Level สถาบันอุดมศึกษา 6 4 5 • เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2553 • มุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้จังหวัดปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง โดยวัดความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานต่อไป • ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหมวดที่ดำเนินการ จังหวัดจะเลือกตัวชี้วัดที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนดให้เพื่อให้เกิดความเป็นมาตรฐานในการวัดความสำเร็จและสามารถสะท้อนผลการดำเนินงานของหมวดนั้น ๆ ได้อย่างแท้จริง แต่อย่างไรก็ตามยังเปิดโอกาสสำหรับจังหวัดที่จะกำหนดตัวชี้วัดเพิ่มเติมได้เอง เพื่อความสอดคล้องกับภารกิจบางประเภทที่มีลักษณะเฉพาะ และส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม
การกำหนดตัวชี้วัด PMQA ปี 2553 • กำหนดน้ำหนักเพื่อการ“ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากจังหวัดใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ในหมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว • จังหวัดควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดีแม้ในหมวดที่จังหวัดได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ไปแล้วก็ตาม เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหารจัดการในขั้น Successful Level
ความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2553 ปี 2552 • ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ • ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน • รายหมวด (หมวดภาคบังคับ: หมวด 2,3 และหมวด 7) • จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด • ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด • ปรับปรุงองค์กรในประเด็นที่ไม่ผ่านเกณฑ์ FL ในปี 52 • ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน • เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 54 • ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ • ของส่วนราชการ ตามเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน • รายหมวด (หมวดภาคบังคับ: หมวด 1,4 และหมวด 7) • จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด • ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด • ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน • เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 53 • สิ่งที่ต้องส่งมอบ วันที่ 1 พ.ย. 2553 • รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA • ระดับพื้นฐาน • รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • แผนพัฒนาองค์การปี 54 (หมวดภาคบังคับ: หมวด 5,6) • แผนพัฒนาองค์การปี 52(30 ม.ค.52) • รายงานแสดงตัวชี้วัดผลลัพธ์ แผนพัฒนา • องค์การปี 52 (30 ม.ค.52) • รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • แผนพัฒนาองค์การปี 53 • (หมวดภาคบังคับ: หมวด 2,3)
ตัวชี้วัดที่ 15ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก ร้อยละ 20)
3. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) • ประกอบด้วย 7 หมวดรวม 45 ประเด็น • แต่ละประเด็นเป็นการมุ่งเน้นกระบวนการและระบบงานพื้นฐานที่จำเป็น เพื่อตอบสนองประเด็นต่าง ๆ ของ พรฎ. ต่าง ๆ • จังหวัดต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบในทุกข้อและทุกหมวด
เปรียบเทียบเกณฑ์ PMQA กับเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) โดยสรุป • มีแนวทาง (มีระบบ) • มีการนำไปใช้จริง • เริ่มเกิดผล • มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง • มีการพัฒนา • มีความก้าวหน้า • เริ่มบูรณาการกับระบบงานอื่น ๆ
องค์ประกอบเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน(Fundamental Level) ส่วนที่ 1 เกณฑ์ Fundamental Level ส่วนที่ 2 คำอธิบายแนวทางดำเนินการ ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ Fundamental Level
ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 1
หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์
หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์
ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 2
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 3
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 4
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 5
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ
ข้อแนะนำการดำเนินการ หมวด 6
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
4. กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
ความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐความเชื่อมโยงการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2553 ปี 2552 • ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ • ของจังหวัดตามเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน • รายหมวด (หมวดภาคบังคับ และหมวด 7) • จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด • ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด • ปรับปรุงองค์กรในประเด็นที่ไม่ผ่านเกณฑ์ FL ในปี 52 • ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน • เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 54 • ประเมินระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ • ของจังหวัดตามเกณฑ์ PMQAระดับพื้นฐาน • รายหมวด (หมวดภาคบังคับ และหมวด 7) • จัดทำแผนพัฒนาองค์การรายหมวด • ปรับปรุงองค์การตามแผนที่กำหนด • ประเมินองค์การตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน • เพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การปี 53 • สิ่งที่ต้องส่งมอบ วันที่ 1 พ.ย. 2553 • รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ PMQA • ระดับพื้นฐาน • รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • แผนพัฒนาองค์การปี 54 (หมวดที่เหลือ) • แผนพัฒนาองค์การปี 52(30 ม.ค.52) • รายงานแสดงตัวชี้วัดผลลัพธ์ แผนพัฒนา • องค์การปี 52 (30 ม.ค.52) • รายงานผลการดำเนินการ เทียบกับเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • รายงานผลลัพธ์การดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • รายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร • รายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์ • PMQA ระดับพื้นฐาน • แผนพัฒนาองค์การปี 53 • (หมวดภาคบังคับ)
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • มุ่งเน้นให้จังหวัดปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการปรำจังหวัดที่ร่วมดำเนินการมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง • กำหนดน้ำหนักเพื่อการ “ซ่อม” ซึ่งหมายถึง ค่าน้ำหนักคะแนนนี้จะใช้ตรวจประเมินในหมวดที่ดำเนินการไปแล้ว หากจังหวัดใดไม่ผ่านเกณฑ์ฯ ในหมวดนั้น ๆ ก็จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ ดังกล่าว สำหรับจังหวัดที่ผ่านเกณฑ์ฯอย่างครบถ้วนแล้วจะได้ค่าคะแนนนี้โดยปริยาย ปี 2553
ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐของจังหวัด • การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • ให้ดำเนินการเป็นภาพรวมของจังหวัด • การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ • ภาครัฐของจังหวัดให้ครอบคลุมการดำเนินการของ • ทุกส่วนราชการประจำจังหวัดที่เป็นราชการบริหาร • ส่วนภูมิภาค และครอบคลุมถึงหน่วยงานที่อยู่ภายใต้ • สังกัดของส่วนราชการประจำจังหวัดนั้นด้วย
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 การประเมินผลตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 15ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (น้ำหนัก ร้อยละ 20)
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานจำนวน 2 หมวด ซึ่งแต่ละหมวดแบ่งการดำเนินงานออกเป็น 3 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณาจากจำนวนข้อที่ผ่านเกณฑ์เทียบกับจำนวนข้อทั้งหมดในแต่ละหมวด แล้วนำผลที่ได้ไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการ (หมวด 2 และหมวด 3) อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 2.1 -2.7
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด • จังหวัดที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แล้ว จะได้ค่าคะแนนนี้โดยปริยาย โดยจะใช้ผลการตรวจประเมินปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • จังหวัดที่ ไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับ • พื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จะต้องดำเนินการให้ผ่านเกณฑ์ฯ อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7.1 และ 7.2 (ใช้แบบฟอร์มในคู่มือ ปี 52)
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 11.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 2.7
การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 15.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้