80 likes | 169 Views
หัวข้อวิจัย. การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของระบบ สารสนเทศ. Presented by: สุนัดดา สงวนเดช 542132039 For: อาจารย์ พุทธ วรรณ ขันต้นธง. ที่มา และความสำคัญ. ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันมากขึ้น ตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น
E N D
หัวข้อวิจัย การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของระบบสารสนเทศ Presented by: สุนัดดา สงวนเดช 542132039 For: อาจารย์พุทธวรรณ ขันต้นธง
ที่มา และความสำคัญ • ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันมากขึ้น • ตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น • เพิ่มความสะดวกสบายมากขึ้นในชีวิตประจำวัน • ด้านการติดต่อสื่อสาร (การโทรคมนาคม) • การจัดเก็บข้อมูล • สื่อการเรียนการสอน
ที่มา และความสำคัญของการจัดการศึกษาทางไกลในรูปแบบของสารสนเทศ • การเรียนทางไกลเป็นนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในสมัยศตวรรษที่ 20 • การจัดการสื่อสารทางไกลเริ่มมีเมื่อ ค.ศ. 1800 (พ.ศ.2343)
ปัญหาที่พบในองค์กร • ส่งไปผิดที่อยู่ นักศึกษาไม่ได้รับหนังสือเรียน • หนังสือได้รับความเสียหายในระหว่างการขนส่ง (หนังสือฉีก หรือยับ) • ข้อมูลการเรียนสูญหาย เนื่องจากไม่มีระบบฐานข้อมูลในการเก็บที่ดีพอ • มีความล่าช้าในการในการจัดส่งหนังสือเนื่องจากยังมีการจัดส่งทางไปรษณีย์ • ในบางครั้งเมื่อมีไปรษณีย์มาส่งแต่ไม่มีใครรับพัสดุต้องเสียเวลาไปรับที่ไปรษณีย์เอง (เสียเวลาไปประมาณ 1 วัน) • สิ้นเปลืองทรัพยากร เนื่องจากต้องมีการ copy หนังสือเป็นจำนวนหลาย ๆ เล่มสำหรับนักศึกษา
โจทย์วิจัย คำถามหลัก • ระบบสารสนเทศจะช่วยพัฒนาการศึกษาทางไกลของมหาลัย Global ได้อย่างไร คำถามรอง • ใช้ซอฟแวร์ หรือโปรแกรมอะไรในการพัฒนาระบบสารสนเทศ • พัฒนาอย่างไร • ระบบสารสนเทศเกี่ยวข้องอย่างไรกับการศึกษาทางไกล • กลุ่มผู้ใช้ (บุคลลากร และนักศึกษา) จะเข้าใจในระบบสารสนเทศมากน้อยแค่ไหน • จะช่วยประหยัดเวลา และประหยัดทรัพยากรได้มากน้อยแค่ไหน
วัตถุประสงค์ • เพื่อพัฒนาระบบการจัดการศึกษาทางไกลของมหาวิทยาลัย Global ให้เป็นระบบของการเรียนรู้สารสนเทศ • เพื่อป้องกันการสูญหายของข้อมูลการเรียน • เพื่อประหยัดเวลาในการเรียน และการจัดส่งตำราเรียน • เพื่อเป็นการประหยัดทรัพยากร
ผลที่คาดว่าจะได้รับ • นำระบบสารสนเทศมาพัฒนาระบบการจัดการศึกษาทางไกลให้เป็นประโยชน์สูงสุด • บุคลากรในหน่วยงาน และผู้ที่ศึกษาในระบบการจัดการศึกษาทางไกลมีความเข้าใจในระบบสารสนเทศ และใช้ได้อย่างถูกต้อง • บุคลากรในหน่วยงานสามารถมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบที่จะพัฒนาในขั้นต่อไปได้
เอกสารอ้างอิง • ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียนกระทรวงศึกษาธิการ. รายงานการวิจัยพัฒนาการและทิศทางของ E-Learning ในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: หจก.บางกอกบล๊อก, 2546 • ธิติรัตน์ วิศาลเวทย์, ณรงค์ ขำวิจิตร, ประไพพิศ มงคลรัตน์, พรรณนิภา วัยเจริญ, วันดี จงคงคา.รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาหารูปแบบการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสื่อสารทางไกลและเทคโนโลยีสารสนเทศ,2546