1 / 40

ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน ที่ตั้งอยู่ห่างจากอำเภอท่าแซะไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 9 กิโลเมตร

สรุปผลการดำเนินงาน (กิจกรรมครั้งที่ 1) โครงการชุมชนเข้มแข็ง เตรียมพร้อมป้องกันภัย ณ บ้านหนองเรียง ม.1 ต.ท่าข้าม อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร. ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน ที่ตั้งอยู่ห่างจากอำเภอท่าแซะไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 9 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 2,200 ไร่

kylan-vance
Download Presentation

ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน ที่ตั้งอยู่ห่างจากอำเภอท่าแซะไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 9 กิโลเมตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการดำเนินงาน (กิจกรรมครั้งที่ 1)โครงการชุมชนเข้มแข็ง เตรียมพร้อมป้องกันภัยณ บ้านหนองเรียง ม.1 ต.ท่าข้าม อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน ที่ตั้งอยู่ห่างจากอำเภอท่าแซะไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 9 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 2,200 ไร่ แบ่งพื้นที่เป็น 3 โซน ได้แก่บ้านหนองเรียง บ้านนาซัง และบ้านในเมิง มีลำคลอง 2 สาย ที่ไหลผ่านหมู่บ้าน ได้แก่คลองรับร่อ และคลองท่าแซะ ลักษณะภูมิประเทศ/ภูมิอากาศ เป็นพื้นที่ราบลุ่ม อากาศร้อนชื้น

  2. ประชากร จำนวนประชากรรวม 529 คน เพศชาย 260 คน เพศหญิง 269 คน จำนวนครัวเรือน 149 ครัวเรือน การนับถือศาสนา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ การสื่อสาร ใช้ทั้งภาษาไทยกลาง และภาษาถิ่นภาคใต้ สภาพทางเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ยของประชากรในหมู่บ้าน 23,000 บาท/คน/ปี อาชีพหลัก คือเกษตรกรรม เช่นปาล์มน้ำมัน ยางพารา กาแฟ และสวนผลไม้ อาชีพรอง คือ รับจ้างทั่วไป และขายของชำ อาชีพเสริม คือ การปลูกผักสวนครัว

  3. งานประเพณีและเทศกาลที่สำคัญงานประเพณีและเทศกาลที่สำคัญ ประเพณีวันลอยกระทง ประเพณีวันสงกรานต์ ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ เทศกาลตรุษไทย ประเพณีพายเรือนก ประเพณีแห่เทียนพรรษา

  4. ประวัติการเกิดภัยบ้านหนองเรียงประวัติการเกิดภัยบ้านหนองเรียง

  5. ต่อ

  6. ต่อ

  7. ประวัติการเกิดภัยบ้านในเมิงประวัติการเกิดภัยบ้านในเมิง

  8. ต่อ

  9. ต่อ

  10. ประวัติการเกิดภัยบ้านนาซังประวัติการเกิดภัยบ้านนาซัง

  11. ต่อ

  12. ต่อ

  13. ต่อ

  14. สรุปผลการดำเนินงาน (กิจกรรมครั้งที่ 2) บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการป้องกันภัยบ้านหนองเรียง ผู้ใหญ่บ้าน (นางสุชีพมีสุวรรณ) ทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ มีบทบาทหน้าที่ดังนี้ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน เพื่อสั่งการอำนวยการให้คณะกรรมการทำตามหน้าที่ 2. ประสานงานกับตำบล อำเภอ 3. ประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. สั่งการ และดูแลรับผิดชอบการเตือนภัย อพยพ

  15. ต่อ หน้าที่ผู้นำแต่ละกลุ่ม (โซน) 1. กำหนดเส้นทางอพยพให้ชัดเจน และแจ้งให้ประชาชนทราบ 2. จัดทำบัญชีผู้ต้องการความช่วยเหลือตามความสำคัญ เช่น ผุ้พิการ เด็ก คนชรา 3. จัดหาสิ่งอำนวยความสะดวก 4. ให้ความรู้ว่าจะต้องปฏิบัติอย่างไรเมื่อได้รับสัญญาณเตือนภัยต่าง ๆ และวิธีการอพยพเมื่อ เกิดเหตุ 5. ตรวจสอบจำนวนผู้อพยพให้ออกจากพื้นที่เกิดเหตุอย่างปลอดภัยให้ครบถ้วน

  16. ต่อ 1. ฝ่ายเฝ้าระวังและเตือนภัย ได้แก่ - สานน เกตุนวล - ประนอมจรกลิ่น - เทวีอรัญญะ - พรเพ็ญ ฉิมพลี บทบาทหน้าที่ 1.เฝ้าระวังติดตามสถานการณ์สาธารณภัยอย่างสม่ำเสมอ 2. แจ้งเตือนภัยเมื่อมีสาธารณภัยให้ชุมชนทุกคนได้รับทราบพร้อมแนวทางปฏิบัติ สำหรับการอพยพ 3. แจ้งข่าวให้ราษฎรในหมู่บ้านให้เตรียมระวังเมื่อมีคำเตือนจากทางราชการ 4. ดูระดับน้ำในคลอง

  17. ต่อ 2.ฝ่ายกู้ภัยบรรเทาสาธารณภัย ได้แก่ - สวาสดิ์เอี้ยงมี - เชาวลิตมีสุวรรณ - สุลม แซ่ตั้ง - ทรงเกียรติ ทองเนื้อห้า บทบาทหน้าที่ 1. ดำเนินการค้นหา กู้ภัยและช่วยเหลือผู้ประสบภัย โดยการมีส่วนร่วมของ ชุมชน 2ดำเนินการปฐมพยาบาลเบื้องต้นแก่ผู้ประสบภัย และส่งต่อให้กับ สถานพยาบาล

  18. ต่อ 3. ฝ่ายอพยพ ได้แก่ - ปรีชาปลีโรย - สุทินมากทอง - ชัชวาลแพใหม่ - สวาสดิ์เอี้ยงมี บทบาทหน้าที่ 1. ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายเฝ้าระวังเหตุ 2. ดำเนินการอพยพประชาชนจากจุดเสี่ยงไปยังจุดปลอดภัย 3. ดำเนินการอพยพประชาชนกลับสู่บ้านเรือน เมื่อเหตุการณ์สาธารณภัยคลี่คลายแล้ว

  19. ต่อ 4.ฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อย ได้แก่ - สุชีพมีสุวรรณ - ยุวลิตเทพมณี - ปรีชาปลีโรย บทบาทหน้าที่ 1. ดูแลรักษาความสงบเรียบร้อยในจุดที่มีผู้อพยพอาศัยอยู่ 2. ดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของราษฎรผู้ได้รับผลกระทบ 3.จัดเวรยามดูแลประชาชน 4. อำนวยความสะดวกด้านการสัญจร การจราจรของผู้อพยพ ขณะดำเนินการอพยพ

  20. ต่อ 5.ฝ่ายช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ ได้แก่ - บุปผาปลีโรย - อรพินท์สังข์สม -อัมราสินเพชร - สุชาติอินทโก บทบาทหน้าที่ 1. จัดเตรียมสถานที่ อาหาร และน้ำดื่มสำหรับผู้อพยพ 2. เตรียมเครื่องอุปโภค-บริโภค สำหรับอำนวยความสะดวกสำหรับผู้อพยพ 3. จัดหาและเตรียมงบประมาณสำรองสำหรับใช้จ่ายฉุกเฉิน 4. การสำรวจผู้เสียชีวิต ผู้บาดเจ็บ และความเสียหาย 5. การรายงานความเสียหายให้หน่วยเหนือเพื่อทราบ

  21. ต่อ 6.ฝ่ายรักษาพยาบาล - สุจินต์แซ่ภู่ - สิรินยาจักรน้อย - ไกรสินจิตดี - วันทรา ยังธิคุณ บทบาทหน้าที่ 1. เตรียมยาและเวชภัณฑ์สำหรับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 2.ปฐมพยาบาลเบื้องต้นผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ 3. ดำเนินการรักษาพยาบาลแก่ผู้เจ็บป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บจากสาธารณภัย 4. ฟื้นฟูสภาพจิตใจ วิถีชีวิตของผู้ประสบภัย

  22. ต่อ 7.ฝ่ายสื่อสารประชาสัมพันธ์ - สุชีพมีสุวรรณ - ยุวลิตเทพมณี - วาสนา แซ่ตั้ง - พรทิพย์กาญจนี - วรรณดีเพชรน้อย บทบาทหน้าที่ 1. รับข่าวสาร การแจ้งเตือนภัยจากทางราชการแล้วกระจายข่าวให้ตัวแทนนำไปแจ้งบอกชาวบ้าน 2. แจ้งสถานการณ์น้ำท่วมให้กับทางราชการได้ทราบสถานการณ์น้ำท่วมในหมู่บ้าน 3. ติดต่อประสานงานกับหน่วยราชการในเรื่องขอความช่วยเหลือ

  23. ต่อ 8.ฝ่ายบริการอื่น ๆ - ประนอมมากทอง - อารีย์คงคาภิรมย์ - รัชนีย์ คงคาภิรมย์ - จำเนียรเกตุสุริยา - สุชลยังอมร บทบาทหน้าที่ 1. ช่วยเหลือกรรมการทุกฝ่ายเท่าที่สามารถจะช่วยได้ 2. ให้บริการผู้ประสบภัย และอำนวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ 3.ประสานงานกับ อบต. อำเภอ สถานีอนามัย สถานีตำรวจ ในการรายงานเหตุการณ์ เพื่อให้เข้ามาช่วยเหลือสนับสนุนการบรรเทาภัยต่อไป 4. ประสานงานกับหน่วยปฏิบัติการกู้ชีพ กู้ภัย ของ อบต.และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใกล้เคียง

  24. แผนลดความเสี่ยงจากอุทกภัยแผนลดความเสี่ยงจากอุทกภัย

  25. ต่อ

  26. ต่อ

  27. ต่อ

  28. ต่อ

  29. ต่อ

  30. ต่อ

  31. ต่อ

  32. แผนลดความเสี่ยงภัยการจราจรแผนลดความเสี่ยงภัยการจราจร

  33. ต่อ

  34. แผนลดความเสี่ยงจากวาตภัยแผนลดความเสี่ยงจากวาตภัย

  35. ต่อ

  36. ต่อ

  37. ต่อ

  38. แผนลดความเสี่ยงภัยจากภัยแล้งแผนลดความเสี่ยงภัยจากภัยแล้ง

  39. ต่อ

  40. ต่อ

More Related