920 likes | 1.14k Views
การสอนตาม กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ. รศ . ดร . วราภรณ์ เอี้ยวสกุล สถานพัฒนาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุร นารี. โครงสร้าง. กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) หลักการจัดการเรียนการสอน การจัดสอนตาม TQF. TQF. Thai Qualifications Framework For Higher Education : TQF HE.d
E N D
การสอนตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติการสอนตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รศ. ดร. วราภรณ์ เอี้ยวสกุล สถานพัฒนาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โครงสร้าง • กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (TQF) • หลักการจัดการเรียนการสอน • การจัดสอนตาม TQF
TQF Thai Qualifications Framework For Higher Education : TQF HE.d กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชามาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา กรอบที่กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตในแต่ละคุณวุฒิของสาขาวิชา เพื่อเป็นหลักประกันว่า บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่างๆ มีคุณภาพไม่น้อยกว่าที่กำหนด
แนวคิด TQF • ผลการเรียนรู้ (Learning outcomes) • มาตรฐานขั้นต่ำเชิงคุณภาพ & QA(Minimum qualification) • มาตรฐานผลการเรียนรู้ : พิสัยของ การเรียนรู้ (Domains of learning)
มาตรฐานผลการเรียนรู้ • หลักสูตร • กระบวนการเรียนการสอน หลากหลาย • มั่นใจในคุณภาพบัณฑิต - ประกอบอาชีพมีความสุข & ภาคภูมิใจ - เป็นที่พอใจของนายจ้าง • ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิตมาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต • มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ • สร้าง ประยุกต์ความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง • ปฏิบัติงาน & สร้างงานเพื่อพัฒนาสังคมให้แข่งขันได้ในระดับสากล
มาตรฐานคุณภาพบัณฑิต (ต่อ) • มีจิตสำนึก ดำรงชีวิต • ปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบ โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม 6. มีสุขภาพดี ทั้งร่างกาย จิตใจ รักษาสุขภาพ
สกอ: แนวทางปฏิบัติTQF ข้อ 6.1 พัฒนาอาจารย์อย่างต่อเนื่อง ด้าน • วิชาการ • วิธีการสอน • วิธีการวัดผล สรุป : เตรียมความเป็นครู พัฒนาความเป็นครู
เป้าหมายการผลิตบัณฑิต • คุณธรรม จริยธรรม • ความรู้ • ทักษะทางปัญญา • ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล & ความรับผิดชอบ • ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร & เทคโนโลยีสารสนเทศ • ทักษะพิสัย
Educational Outcomes Student Educational Environment What to learn Content Do they learn How to learn Methods & strategies Support Assessment Magery Davis 2003
จิตวิทยาการเรียนรู้ • ความพร้อม • ความถนัด • แรงจูงใจ • บรรยากาศ • การมีส่วนร่วม • การรู้ผลความก้าวหน้าของการเรียน
สมอง ศูนย์บัญชาการชีวิต • ร่างกาย • จิตใจ
สมอง • สมองส่วนหลัง สัญชาตญาณเพื่อ การอยู่รอด สัตว์เลื้อยคลาน • สมองส่วนกลาง ศูนย์อารมณ์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ความรัก ความผูกพัน • สมองส่วนหน้า ศูนย์เหตุผล เชาว์ปัญญา • Paul MacLean
Fore Brain – Prefrontal Neocortex • ควบคุมการทำงานของร่างกายให้สมดุล • ปรับอารมณ์ ควบคุมความกลัว • รับรู้ความรู้ความรู้สึก เห็นอกเห็นใจ ยั้งคิด คิดก่อนทำ • รู้แจ้งในตนเอง ญาณหยั่งรู้ • ศีลธรรม นพ. แดเนียล ซีเกล
คุณธรรม จริยธรรม • เรื่องของศีลธรรม ความดีงาม ยากต่อการจับต้อง • หลักในการครองชีวิต ความประพฤติ การตัดสินใจ: ถูก/ผิด ควรทำ/ไม่ควรทำ
หลักการตัดสินใจขั้นต้นหลักการตัดสินใจขั้นต้น • การปฏิบัติตามหน้าที่ถือเป็นสิ่งถูกต้อง ยึดหลักสิทธิมนุษยชน ศาสนา • การปฏิบัติที่ทำให้เกิดความสุข ประโยชน์สูงสุด พบได้ในกฎหมาย
คุณธรรม จริยธรรม • พัฒนานิสัยในการประพฤติอย่างมีคุณธรรม • มีความรับผิดชอบในส่วนตนและส่วนรวม • สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยม พัฒนานิสัยและปฏิบัติตนตามศีลธรรม ทั้งในส่วนตนและสังคม
วิธีการสอนคุณธรรม จริยธรรม • จัดสอนเป็นรายวิชา • สอนสอดแทรกในชั้นเรียนและในการปฏิบัติ • อภิปรายกรณีศึกษา การเล่าเรื่อง การสนทนากลุ่ม • วิเคราะห์สถานการณ์ สะท้อนพฤติกรรมตนเอง ผู้อื่น • เป็นแบบอย่างที่ดี • เป็นพี่เลี้ยง ครูฝึก • สร้างสิ่งแวดล้อม กิจกรรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม • สร้างวัฒนธรรมองค์กร ปลูกฝังระเบียบวินัย
วิธีการสอนคุณธรรม จริยธรรม • ให้ข้อมูล • ให้ตัวอย่าง รูปแบบ กรณีศึกษา สถานการณ์ • ให้ประสบการณ์ • อภิปราย สะท้อนความคิด ความรู้สึก อารมณ์ • การฝึกหัด การแสดงบทสมมุติ แสดงละคร
บทบาท • นักศึกษา มีส่วนร่วมในกิจกรรม คิดเป็น ทำเป็น เกิดเจตคติที่ดีด้วยตนเอง • อาจารย์ กระตุ้นให้จับประเด็นสำคัญ สะท้อนความคิด วางกฎเกณฑ์การเรียน การเป็นแบบอย่าง
Feedback คุณธรรม จริยธรรม Focus on critical elements of ABC • Attitude • Behavior • Communication
Feedback • See yourself as the others see you • Process of giving information about current performance for future improvement
Feedback • Positive: to reinforce good behavior • Negative: to change bad behavior
PositiveVS Compliments To reinforce good behavior are aimed at making the receiver feel better
Negative feedback VS Criticism are aimed at making the giver feel better To change bad behavior
Constructive feedback • Descriptive rather than evaluative • Specific rather than general • Focus on behavior rather than personality • Sharing information rather than giving advice • Well timed • Limit information for using
ความรู้ • ความสามารถในการเข้าใจ นึกคิด นำเสนอ เชื่อมโยงข้อมูลตามโครงสร้างเนื้อหา • การวิเคราะห์และจำแนกข้อเท็จจริงในหลักการ ทฤษฎี และกระบวนการต่างๆ • สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้
ทักษะทางปัญญา • พัฒนาความคิดรวบยอด สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ แก้ไขปัญหา • ใช้ทักษะทางปัญญาในการแก้ไขปัญหาใหม่ๆที่ไม่คาดคิดมาก่อน
3 Conditions Facilitate Learning • Activating relevant prior knowledge • Provide context resemble future professional context: encoding specificity • Stimulate students to elaborate their knowledge
Tell me, and I forgetShow me, and I rememberInvolve me and I understandA Chinese Proverb
Tell me and I’ll forget Show me , and I may not remember Involve me , and I’ll understand Native American Proverb
วิธีการสอน ความร่วมมือ ผู้สอนผู้เรียน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • Active learning : - ผู้เรียน มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียน : ทำ ปฏิบัติ - จัดสิ่งแวดล้อม ให้ประยุกต์สิ่งที่เรียนโดย พูด ฟัง อ่าน เขียน & สะท้อนความคิด สาระเนื้อหา • ทำแบบฝึกหัด แก้ปัญหาอภิปรายกลุ่มสถานการณ์จำลองกรณีศึกษา แสดงบทสมมุติ
วิธีการสอน • Interactive lecture • Discussion : assigned reading, report • Case-situation analysis & solution • Problem-based learning • Team-based learning • Collaborative learning • Online/hybrid courses, e-Learning • Project
ประเมินการแก้ไข ตระหนักปัญหา การเรียนรู้ด้วยกระบวนการแก้ปัญหา รวบรวมปัญหา นำมาแก้ไข ค้นหาวิธีแก้ไข ประมวลข้อมูล & เลือกวิธีแก้ไข
PBL การเรียนรู้ในกลุ่มย่อย นักศึกษาอภิปรายโดยค้นคำอธิบายปัญหา ตามบทเรื่อง (Scenario) หรือ (Phenomena) และแนวทางแก้ไข สรุป :ศึกษาปัญหา กำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ และ กิจกรรม การเรียนด้วยตนเอง
ขั้นตอนการเรียนรู้ PBL 1. ทำความกระจ่างเกี่ยวกับ ความหมายของศัพท์ในโจทย์ 2. แสวงหาปัญหาจากโจทย์ 3. กำหนดสมมุติฐาน และสาเหตุของปัญหา กลุ่มย่อย 1 4. อภิปรายโดยสรุปรวบยอด 5. กำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ 6. ศึกษาด้วยตนเอง รายบุคคล 7. สรุปรวบยอดข้อมูลที่ศึกษามา 8. ตั้งคำถาม กลุ่มย่อย 2 9. ประเมินผลกลุ่มย่อย 10. ประเมินผลรายคน รายบุคคล
1. Clarification of terms 2. Definition of problem 7. Report and synthesis of information The Seven Jump 3. Analysis of problem 6. Collect new information 4. Structuring ideas 5. Formulate learning objectives