1 / 26

แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ

แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ. แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ. วิชานโยบายสาธารณะมีปรากฏทั้งในส่วนของรัฐศาตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ - นักรัฐศาสตร์ให้ความสำคัญกับการศึกษานโยบายสาธารณะในแง่ของกระบวนการ - นักรัฐประศาสนศาสตร์ให้ความสนใจศึกษานโยบายสาธารณะในแง่ของผลผลิต.

Download Presentation

แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะแนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ

  2. แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะแนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ • วิชานโยบายสาธารณะมีปรากฏทั้งในส่วนของรัฐศาตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ - นักรัฐศาสตร์ให้ความสำคัญกับการศึกษานโยบายสาธารณะในแง่ของกระบวนการ - นักรัฐประศาสนศาสตร์ให้ความสนใจศึกษานโยบายสาธารณะในแง่ของผลผลิต

  3. แนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะแนวความคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ • จากบทความและวรสารเกี่ยวกับนโยบายได้สรุปวิธีการศึกษานโยบายไว้ดังนี้ 1. เป็นการศึกษาเชิงบรรยายและอธิบายมากกว่าการใช้ข้อมูลเชิงปริมาณ 2. เสนอการวิจัยนโยบายโดยมิได้คำนึงถึงวิธีที่ใช้ในการวิเคราะห์ 3. มุ่งสนใจลักษณะของกระบวนการนโยบายและศึกษาเป็นรายกรณี 4. เป็นการศึกษาวิจัยประเมินผลและวิเคราะห์ผลลัพธ์ของนโยบาย

  4. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ • ต้องทำความเข้าใจความหมายของคำที่มีความเกี่ยวข้องกับคำว่านโยบายสาธารณะ ได้แก่ 1.1 อะไรคือความแตกต่างระหว่าง ภาครัฐ กับคำว่า ภาคเอกชน 1.2 การทำความเข้าใจคำว่า สาธารณะ กับคำว่า นโยบาย 1.3 ความหมายของคำว่านโยบายสาธารณะ

  5. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.1 ความแตกต่างระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน มี 10 ประการ ดังนี้ 1) เป็นงานที่มีความคลุมเครือและสลับซับซ้อนมากกว่า 2) มีปัญหาในการนำไปสู่การปฏิบัติมากกว่า 3) ใช้คนในการปฏิบัติมากกว่า 4) คำนึงถึงโอกาสและความเสมอภาคมั่นคงมากกว่า 5) คำนึงถึงการชดเชยความล้มเหลวทางการตลาดมากกว่า

  6. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 6) เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่มีความสำคัญเชิงสัญลักษณ์มากกว่า 7) มีสภาพบังคับที่เข้มงวดกวดขันมากกว่า 8) ตอบสนองในประเด็นความยุติธรรมมากกว่า 9) ดำเนินการตามความต้องการของสาธารณชนมากกว่า 10) ต้องคำนึงถึงการยอมรับและการสนับสนุนของสาธารณชนมากกว่า

  7. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.2 แนวคิดเกี่ยวกับคำว่า สาธารณะ กับ นโยบาย สาธารณะ(public) หมายถึง - เรื่องที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาลหรือรัฐหรือกิจกรรมต่างๆ ที่รัฐดำเนินการจัดทำให้กับประชาชน - กิจกรรมที่ต้องการให้รัฐบาลเข้าไปแทรกแซงหรือจัดระเบียบสังคม เช่น มติมหาชน ผลประโยชน์สาธารณะ เป็นต้น

  8. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.2 แนวคิดเกี่ยวกับคำว่า สาธารณะ กับ นโยบาย นโยบาย - มีผู้ให้คำจำกัดความไว้อย่างหลากหลาย - Heclo นโยบายเป็นมากกว่าแนวทางการดำเนินการที่จงใจหรือตั้งใจหรือมีเป้าหมาย นโยบายคือบางสิ่งที่มีขนาดใหญ่กว่าการตัดสินใจที่เฉพาะเจาะจง แต่เล็กว่าการเคลื่อนไหวทางสังคมโดยทั่วไป

  9. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.2 แนวคิดเกี่ยวกับคำว่า สาธารณะ กับ นโยบาย - ชุดของความคิด หรือแผนของสิ่งที่จะทำในสถานการณ์บางสถานการณ์ซึ่งแผนดังกล่าวจะถูกตัดสินใจหรือวางแผนโดยกลุ่มภาคประชาชน องค์กรธุรกิจ รัฐ หรือพรรคการเมือง - นอกจากความหมายที่ระบุถึงการกระทำหรือการตัดสินใจ - - ยังรวมถึงการดำเนินการและเลือกที่จะไม่ตัดสินใจหรือดำเนินการ

  10. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.2 แนวคิดเกี่ยวกับคำว่า สาธารณะ กับ นโยบาย คำจำกัดความของนโยบาย 10 ลักษณะ (Hogwood and Gunn) 1.2.1 หมายถึงกิจกรรมด้านหนึ่งหรือกิจกรรมที่รัฐจัดทำ - - เป็นคำแถลงกว้างๆ ของรัฐบาลเกี่ยวกับนโยบายด้านต่างๆ - - มีลักษณะเป็นนามธรรม - - รัฐสามารถแทรกแซงได้

  11. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.2.2 นโยบายเป็นการแสดงออกถึงเป้าหมายหรือภาวะการที่รัฐปรารถนาจะให้เป็น - - คำแถลงนโยบาย - - เป็นเรื่องของการใช้วาทศิลป์มากกว่าจะปฏิบัติได้จริง - - ละเลยที่มา - - กระบวนการของนโยบาย 1.2.3 นโยบายเป็นข้อเสนอที่เฉพาะเจาะจง 1.2.4 นโยบายเป็นการตัดสินใจของรัฐบาล - - สนใจการตัดสินใจที่เฉพาะเจาะจงของรัฐบาล - - จากการเลือกทางเลือก

  12. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.2.5 นโยบายในฐานะการมอบอำนาจ / การให้อำนาจอย่างเป็นทางการ 1.2.6 นโยบายในฐานะแผนงานหรือโครงการ โครงการหมายถึง ขอบข่ายกิจกรรมของรัฐที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ในลักษณะชุดของกฎหมาย - - มองข้ามวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของนโยบาย แต่กลับให้ความสนใจกับวัตถุประสงค์ของโครงการย่อยแทน 1.2.7 นโยบายที่เป็นผลผลิต out put - - สิ่งที่รัฐบาลส่งมอบการบริการให้กับประชาชน

  13. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.2.8 นโยบายที่เป็นผลลัพธ์ out come out come หมายถึง ผลกระทบของกิจกรรม (ผลผลิต) ที่ได้ดำเนินการมาแล้ว 1.2.9 นโยบายคือทฤษฎีหรือตัวแบบ - - เกี่ยวข้องกับสมมุติฐาน ว่าอะไรคือสิ่งที่รัฐบาลทำได้ และอะไรคือผลที่จะตามมา 1.2.10 นโยบายที่เป็นกระบวนการ

  14. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.3 ความหมายของนโยบายสาธารณะ Thomas R. Dye นโยบายสาธารณะ คือ อะไรก็ตามที่รัฐบาลตัดสินใจเลือกกระทำหรือไม่กระทำ

  15. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.3 ความหมายของนโยบายสาธารณะ David Easton นโยบายสาธารณะเป็นเรื่องของการจัดสรรคุณค่าและผลประโยชน์ต่างๆ อย่างเป็นทางการ

  16. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.3 ความหมายของนโยบายสาธารณะ Harold Lasswell และ Abraham Caplan แผนงานและโครงการที่กำหนดขึ้น ประกอบไปด้วยเป้าหมาย คุณค่า และการปฏิบัติต่างๆ

  17. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.3 ความหมายของนโยบายสาธารณะ สรุป นโยบายสาธารณะ คือ นโยบายที่ถูกกำหนดขึ้นโดยรัฐบาล หรืออาจจะเป็นองค์กรหรือตัวบุคคล ที่มีอำนาจโดยตรงตามกฎหมายภายใต้ระบบการเมืองนั้นๆ ทั้งนี้นโยบายสาธารณะจะครอบคลุมตั้งแต่สิ่งที่รัฐบาลตั้งใจว่าจะกระทำหรือไม่กระทำ การแบ่งสรรทรัพยากรหรือสิ่งที่มีคุณค่าต่างๆ ในสังคม กิจกรรมหรือการกระทำต่างๆ ของรัฐบาล รวมถึงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง ที่เกิดจากการดำเนินงานของรัฐ

  18. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ 1.3 ความหมายของนโยบายสาธารณะ ข้อสังเกตเกี่ยวกับความหมายของนโยบายสาธารณะ 1) เป็นเรื่องของการตัดสินใจที่เป็นกระบวนการ 2) แสดงออกถึงการตัดสินใจอย่างต่อเนื่อง 3) นโยบายเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 4) นโยบายมีความเกี่ยวโยงสัมพันธ์กัน 5) นโยบายอาจเป็นการไม่ตัดสินใจหรือไม่กระทำ

  19. 1. ความหมายของนโยบายสาธารณะ • คุณลักษณะพิเศษของนโยบายสาธารณะที่แตกต่างจากนโยบายอื่นๆ 1. มีความชอบด้วยกฎหมายและมีฐานะเหนือนโยบายอื่นๆ ที่มิใช่นโยบายสาธารณะ 2. ถูกบังคับใช้โดยสถานบันของรัฐ - - ให้ความชอบด้วยกฎหมาย - - มีพันธผูกพันทางกฎหมาย - - มีอำนาจบังคับใช้ในสังคม

  20. 2. องค์ประกอบของนโยบายสาธารณะ 2.1 เป็นความตั้งใจของรัฐบาลที่จะกระทำหรือไม่กระทำบางสิ่งบางอย่าง ความตั้งใจของรัฐบาลอาจเป็นทางการ หรือไม่เป็นทางการก็ได้ 2.2 เป็นการตัดสินใจของรัฐบาล โดยเฉพาะการตัดสินใจในการแบ่งสรรทรัพยากรหรือคุณค่าต่างๆ ในสังคม 2.3 เป็นการกระทำหรือกิจกรรมของรัฐบาล 2.4 ต้องมีผลจากการดำเนินกิจกรรมหรือการกระทำของรัฐบาล

  21. 3. ประเภทของนโยบายสาธารณะ • มี 3 ประเภทด้วยกัน 3.1 ภารกิจของรัฐบาลในด้านต่างๆ 3.2 แนวทางการมองเชิงวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ 3.3 แนวทางการมองเชิงวิเคราะห์ทางรัฐศาสตร์

  22. 3. ประเภทของนโยบายสาธารณะ 3.1 ภารกิจของรัฐบาลในด้านต่างๆ เป็นการจัดประเภทโดยใช้ภารกิจด้านต่างๆ ของรัฐบาลเป็นตัวแบ่ง - - จากคำแถลงนโยบาย - - แบ่งตามความจำเป็นเร่งด่วน

  23. 3. ประเภทของนโยบายสาธารณะ 3.2 แนวทางการมองเชิงวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ เป็นการมองเชิงวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ โดยการจำแยกความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับตลาด - - รัฐควรมีบทบาทแทรกแซงหรือไม่อย่างไร - การแทรกแซงของรัฐมีแนวคิดที่อธิบายสาเหตุของความจำเป็นในการแทรกแซงในรูปของนโยบายโดยภาครัฐ 4 ประการ คือ

  24. 3. ประเภทของนโยบายสาธารณะ 3.2 แนวทางการมองเชิงวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ การแทรกแซงของรัฐมีแนวคิดที่อธิบายสาเหตุของความจำเป็นในการแทรกแซงในรูปของนโยบายโดยภาครัฐ 4 ประการ คือ 1) ผลกระทบภายนอกหรือผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น (externalities)- - มีทั้งด้านบวก(เกิด free ridersคือ พวกที่ได้รับประโยชน์บางอย่างโดยไม่ต้องเข้าไปลงทุนหรือเรียกร้อง) - - ด้านลบ เช่น โรงงานทำให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมรัฐต้องเข้ามารักษาผลประโยชน์ของสังคม

  25. 3. ประเภทของนโยบายสาธารณะ 2) ความล้มเหลวของระบบตลาด เกิดสภาพตลาดที่ไม่สมบูรณ์ - - รัฐต้องเข้ามาดูแลเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่าง Demand และ Supply เช่น การประกันราคาข้าว 3) การผูกขาด 4) ความไม่เป็นธรรมในการกระจายรายได้

  26. 3. ประเภทของนโยบายสาธารณะ 3.3 การแบ่งประเภทของนโยบายสาธารณะเชิงวิเคราะห์ทางรัฐศาสตร์ แบ่งเป็น 4 ประเภท 1) นโยบายเกี่ยวกับการจัดระเบียบกฎเกณฑ์ Regulatory Policy 2) นโยบายเกี่ยวกับการกระจายทรัพยากร Distribution Policy 3) นโยบายเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรใหม่ Redistribution Policy 4) นโยบายต้นแบบ Constituent Policy

More Related