1 / 17

ที่มา

หลักเกณฑ์และแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556. 1. ที่มา. 2. ข้อเสนอของฝ่ายเลขานุการฯ (รวม 2 เรื่อง). . . 3.

kylee-vang
Download Presentation

ที่มา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักเกณฑ์และแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด และของกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 1

  2. ที่มา 2

  3. ข้อเสนอของฝ่ายเลขานุการฯ (รวม 2 เรื่อง)   3

  4. หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556  4

  5. หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556  5 5

  6. หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ) 6 6

  7. หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 คงเดิม และเพิ่มเติม เฉพาะข้อ 1 ขอบเขตของแผนพัฒนาจังหวัดและ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด หลักการ • 1. กรอบหลักในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด • และกลุ่มจังหวัด • นโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน • แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค • ยุทธศาสตร์รายสาขา • ผลการศึกษาของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง • แผนงานด้านความมั่นคง 2. มุ่งเน้นการทำงานแบบเครือข่ายร่วมกัน ทุกภาคส่วนโดยคำนึงถึงความพร้อมของ ทุกภาคส่วน 3. รับฟังความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่น ในจังหวัด 4. ให้ความสำคัญกับแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด มากขึ้น 7

  8. หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด คงเดิม  แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ความสอดคล้องเชื่อมโยง • กับกรอบหลักในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด อาทิ นโยบายรัฐบาล แผนชาติ • กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค ฯลฯ • กับศักยภาพ โอกาส สภาพปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ คุณภาพของแผน • ผ่านกระบวนการเห็นชอบร่วมกันของทุกฝ่าย • มีความชัดเจน เป็นเหตุเป็นผล สอดคล้องเชื่อมโยงตั้งแต่วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ และแผนงาน/โครงการ (Logical Framework) โดยมีรายละเอียดดังนี้ ก. มีการกำหนดประเด็นปัญหาและโอกาสการพัฒนาชัดเจน ทั้งในเชิงของขนาด และพื้นที่ พร้อมทั้งจัดลำดับ ความสำคัญของปัญหาและโอกาสการพัฒนานั้นๆ ข. มีวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ชัดเจน ค. มีประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา และการแก้ไขปัญหาที่ตอบสนองกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ของแผน โดยในการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์จะต้องมีการหาข้อตกลงร่วมกันเพื่อยืนยันประเด็นยุทธศาสตร์ นั้น ๆ และเป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วน ง. มีการจัดลำดับความสำคัญของประเด็นยุทธศาสตร์ จ. มีแผนงาน/โครงการ ตอบสนองกับแนวทางพัฒนานั้นๆ และมีการจัดลำดับความสำคัญของโครงการ 8

  9. หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ) แนวทางการจัดทำโครงการที่จะนำมาจัดทำเป็นคำของบประมาณของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด คงเดิม 2 3 4 ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโครงการ 1 ความจำเป็น ของโครงการ ความคุ้มค่า • ผลลัพธ์หรือ • ประโยชน์ของ • โครงการที่ • คาดว่าจะ • ได้รับ • ช่วยพัฒนาหรือ • แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น • หรือหากไม่ดำเนินการ • จะเกิดความเสียหาย • เพิ่มขีดความสามารถ • ในการแข่งขัน และ • สร้างรายได้ให้ • จังหวัด/กลุ่มจังหวัด เป็นโครงการที่ต้อง สอดคล้องและ เชื่อมโยงกับประเด็น ยุทธศาสตร์ของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด • ด้านเทคนิค • (วิธีการหรือรูปแบบดำเนินการ) • ด้านกายภาพ (ความพร้อมของพื้นที่ บุคลากร การบริหารจัดการ) • ด้านงบประมาณ (วงเงิน กับประโยชน์ที่ได้ • ด้านระยะเวลา (เสร็จภายในปีงบประมาณ ,มีการวิเคราะห์ผลกระทบทางลบ) 9

  10. หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ) คงเดิม โดยปรับข้อ 1 และ 4 ให้สมบูรณ์ขึ้น ลักษณะโครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณจังหวัด โครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณของจังหวัดต้องเป็นโครงการที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด และนำไปสู่การแก้ปัญหาของจังหวัด และตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ เช่น 1. การดำเนินเศรษฐกิจชุมชนหรือการพัฒนาพื้นที่ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อาทิ โครงการที่สนับสนุนและส่งเสริมการเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพ การเพิ่มรายได้และสร้างโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน การพัฒนาสินค้า OTOP 2. การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ 3. การฟื้นฟูและพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัด 4. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เช่น การป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติอย่างยั่งยืน ตัวอย่างเช่น การแก้ไขปัญหาน้ำท่วม หรือปัญหาภัยแล้ง การป้องกันภัยที่เกิดจากไฟป่า ดินถล่ม สึนามิ แผ่นดินไหว ฯลฯ เป็นต้น 5. การยกระดับคุณภาพชีวิต 6. มิติความมั่นคง 10

  11. หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ) คงเดิม ลักษณะโครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณกลุ่มจังหวัด โครงการที่จะจัดทำเป็นคำของบประมาณของกลุ่มจังหวัด ต้องเป็นโครงการที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด และเป็นโครงการที่แสดงถึงการบูรณาการและได้รับประโยชน์ร่วมกันของกลุ่มจังหวัด เช่น 1. การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ (Creative Economy) อาทิ การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างมูลค่าเพิ่ม รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้า OTOP 2. การพัฒนาคุณภาพและสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร 3. การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่เฉพาะ/พื้นที่พิเศษ อาทิ กลุ่มการค้าชายแดน กลุ่มธุรกิจและสินค้าฮาลาล 4. การพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนเพื่อเพิ่มการจ้างงานและกระจายรายได้สู่ชุมชน 5. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 11

  12. หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ) คงเดิม โดยปรับข้อ 6 ให้สมบูรณ์ขึ้น ลักษณะโครงการที่ไม่ควรเสนอขอเป็นคำของบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 1. พื้นที่ดำเนินการอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ หรือที่สาธารณะ เว้นแต่ได้รับอนุญาตหรือเห็นชอบจากหน่วยงาน ที่รับผิดชอบ 2. ไม่ควรก่อสร้างถนนที่เป็นการก่อสร้างเส้นทางใหม่ เว้นแต่เป็นการสร้างทาง ที่จะทำให้ประเด็นยุทธศาสตร์ ของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัดบรรลุผลได้อย่างแท้จริง 3. เป็นการจัดซื้อครุภัณฑ์เพื่อแจกจ่ายแก่ประชาชนโดยตรง ยกเว้นในกรณีของครุภัณฑ์ที่จัดซื้อนั้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมภายใต้โครงการที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 4. มีวัตถุประสงค์หลักเกี่ยวกับศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน (เว้นแต่ฝึกอบรมด้านอาชีพ และวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาที่สำคัญของพื้นที่ หรือการทำแผนแม่บทซึ่ง มีความสัมพันธ์กับการพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ซึ่งต้องใช้องค์ความรู้จากสถาบันการศึกษา) 5. เป็นโครงการในลักษณะของกิจกรรมย่อย (ควรมีการบูรณาการภารกิจหรือกิจกรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกันเป็นโครงการ เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาเชิงบูรณาการอย่างมีประสิทธิผล) 6. เป็นโครงการบริการสาธารณะ หรือบริการประชาชนซึ่งเป็นภารกิจประจำของ หน่วยงานราชการต่างๆ หรือ อปท. อยู่แล้ว เว้นแต่หน่วยงานนั้นไม่มีแผนดำเนินการและเป็นโครงการที่จะทำให้ประเด็นยุทธศาสตร์บรรลุผลอย่างแท้จริง 12

  13. หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ) เพิ่มใหม่ ตามข้อเสนอ ของ สงป. ข้อมูลรายละเอียดโครงการในการจัดทำคำขอตั้งงบประมาณ ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

  14. ขั้นตอนในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ก.ย. 54) (พ.ค. – 18 ส.ค. 54) ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 3 3.1 อ.ก.น.จ. ด้านแผนฯ พิจารณา กลั่นกรองแผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด และให้ข้อสังเกต เพื่อนำไปจัดทำรายละเอียดของ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ต่อไป ก.บ.จ. และ ก.บ.ก. จัดส่งให้ ก.น.จ. ดังนี้ 1) แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ที่ผ่านการทบทวน 2) รายละเอียดโครงการตามแผน พัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่จะ ขอรับการสนับสนุนจากส่วนราชการ ในปี งปม. พ.ศ. 2556 (จัดส่ง ให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องด้วย) จังหวัด/กลุ่มจังหวัดทบทวนสถานการณ์แผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด 3.2จัดประชุมร่วมระหว่างจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด (Area) กับส่วนราชการ (Function) เพื่อบูรณาการโครงการ ที่จังหวัด กลุ่มจังหวัดขอรับการ สนับสนุนงบประมาณจากส่วนราชการ ประจำปี งปม. พ.ศ. 2556 (ต.ค. – 17 พ.ย. 54) (21 พ.ย. – 30 ธ.ค. 54) (ม.ค. 55) ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 6 ก.บ.จ. และ ก.บ.ก. จัดทำ รายละเอียดแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปี งปม. พ.ศ. 2556 ตาม ข้อสังเกตของ อ.ก.น.จ. ด้านแผนฯ และส่งให้ ก.น.จ. พิจารณา ก.น.จ./ครม. อนุมัติแผน และ ก.น.จ. จัดส่งแผนฯ ให้ สงป. โดยถือเป็น คำขอ งปม.จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด อ.ก.น.จ. ด้านแผนฯ พิจารณา กลั่นกรองแผนปฏิบัติราชการประจำปีฯ ประจำปี งปม. พ.ศ. 2556 โดยให้จังหวัด/ กลุ่มจังหวัดเข้าร่วมชี้แจง

  15. ปฏิทินการการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด /กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 เปรียบเทียบระยะเวลาการจัดทำแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติราชการประจำปี ของจังหวัด/กลุ่มจังหวัดในแต่ละปีงบประมาณ

  16. ปฏิทินการการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด /กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 4 21 พ.ย. – 30 ธ.ค. 16 31 16

  17. ปฏิทินการการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด /กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ) 27 24 8 17 ลำดับที่ 11 – 21 จะต้องปรับแก้ให้สอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี ต่อไป

More Related