1 / 31

หัวข้อการบรรยาย ”เกษตรกรภายใต้เบื้องยุคลบาท” หลักสูตร “เกษตรกรคลื่นลูกใหม่”

หัวข้อการบรรยาย ”เกษตรกรภายใต้เบื้องยุคลบาท” หลักสูตร “เกษตรกรคลื่นลูกใหม่” โดย นายเจริญวิทย์ เสน่หา วันเสาร์ที่ 14 มิถุนายน 2551 เวลา 9.00 -11.00 น . ณ . ห้องประชุม สถาบันเอเชียศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต). หัวข้อการบรรยาย.

Download Presentation

หัวข้อการบรรยาย ”เกษตรกรภายใต้เบื้องยุคลบาท” หลักสูตร “เกษตรกรคลื่นลูกใหม่”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หัวข้อการบรรยาย ”เกษตรกรภายใต้เบื้องยุคลบาท” หลักสูตร “เกษตรกรคลื่นลูกใหม่” โดย นายเจริญวิทย์ เสน่หา วันเสาร์ที่ 14 มิถุนายน 2551 เวลา 9.00 -11.00 น. ณ.ห้องประชุม สถาบันเอเชียศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์(ศูนย์รังสิต)

  2. หัวข้อการบรรยาย • ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่มา และที่ไป ปัญหาและอุปสรรคในการขับเคลื่อนงาน ( เปรียบเทียบแนวทางการบรรยาย ) • เศรษฐกิจพอเพียงทางสายกลาง หลักการเศรษฐกิจใหม่ของโลกความหวังของชาวโลกในการกอบกู้ภัยพิบัติโลก (ระเบิด4ลูก) • ทฤษฎีใหม่ ด้านการเกษตร และการศึกษาความล้มเหลวของระบบการศึกษาแบบหมาหางด้วน • โพธิวิชชาลัย การปฏิวัติระบบการศึกษาใหม่ของไทย • การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ไปใช้ประโยชน์ (ตัวอย่างความสำเร็จ )

  3. ทางสายกลาง พอประมาณ มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีเหตุผล ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขความรู้(รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไขคุณธรรม( ซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน สติปัญญา แบ่งปัน ) ชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม สมดุล/มั่นคง/ยั่งยืน

  4. เนื้อหา ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง:3 คุณลักษณะในฐานะที่เป็น “ปรัชญา” • ความพอประมาณ (Moderation) • ความมีเหตุผล (Reasonableness) • การมีภูมิคุ้มกันตนเอง (Self Immunity)

  5. เนื้อหาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง:2 เงื่อนไข • เงื่อนไขความรู้ (Knowledge) - รอบรู้ รอบคอบ รู้เท่าทันระมัดระวังอย่างยิ่ง ใช้เหตุผลที่เป็นสัมมาทิฐื ไม่งมงาย • เงื่อนไขคุณธรรม (Morality) - ซื่อสัตย์ สุจริต อดทน ความเพียร ไม่โลภเกินไป พึ่งตนเอง ทศพิศราชธรรม การให้มีคุณอย่างยิ่ง

  6. แปลความหมายเศรษฐกิจพอเพียง: ความพอประมาณ ( Moderation ) • การจัดสรรทรัพยากร ทุน เวลา ที่มีอย่างสมดุลพอดีกับอัตภาพของแต่ละบุคคล แต่ละองค์กร แต่ละภูมิสังคม แต่ละประเทศ • การปฏิบัติตัว การดำเนินงาน การผลิต ที่เหมาะสมบนทางสายกลาง ไม่ตกขอบ ไม่สุดโต่ง • ขอบเขตมีขนาดไม่ใหญ่เกินไป ไม่เล็กเกินไป • การเจริญเติบโตอย่างมั่นคง เป็นขั้นตอนเล็กไปหาใหญ่ ไม่รีบร้อน ไม่ก้าวกระโดด ไม่ช้าเกินไป ไม่เร็วเกินไป

  7. แปลความหมายเศรษฐกิจพอเพียง:ความมีเหตุผล (สัมมาทิฐิ) (Reasonableness) • ศักยภาพ ทักษะ พรสวรรค์ พรแสวง และทุนของแต่ละบุคคลที่มี • ฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในสังคม • ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในการแข่งขัน ถูกต้องทางวิชาการ • ความสอดคล้องกับปัจจัยสภาพแวดล้อม วัฒนธรรมประเพณี กฎหมาย ศีลธรรม และแนวทางดำเนินชีวิตของสังคมไทย

  8. แปลความหมายเศรษฐกิจพอเพียง:การมีภูมิคุ้มกันตนเอง (Self Immunity) • การจัดการความเสี่ยง ความไม่แน่นอน ความแตกแยก ให้ลดน้อยลง ผ่อนหนักเป็นเบา • การผลิตที่หลากหลาย ผสมผสาน กระจายชนิดสินค้าและกระจายตลาด มีระบบตลาดล่วงหน้า • เงินออม กองทุนออมทรัพย์ ระบบประกันสุขภาพ ออกกำลังกาย หมั่นพัฒนาความรู้ เพื่อคุ้มครองตนเอง • เพื่อน กลุ่ม องค์กร ทุนสังคม เครือข่ายช่วยเหลือสนับสนุน จากระดับชุมชน สังคม ถึงระดับนานาชาติ เพื่อคุ้มครองส่วนรวม

  9. เนื้อหาของปรัญาเศรษฐกิจพอเพียง:2 เงื่อนไข • เงื่อนไขความรู้ (Knowledge) - รอบรู้ รอบคอบ รู้เท่าทันระมัดระวัง ใช้เหตุผล ไม่งมงาย • เงื่อนไขคุณธรรม (Morality) - ซื่อสัตย์ สุจริต อดทน ความเพียร ไม่โลภเกินไป พึ่งตนเอง ทศพิศราชธรรม การให้มีคุณอย่างยิ่ง

  10. ลำดับขั้นในการพัฒนาปรัชญาลำดับขั้นในการพัฒนาปรัชญา • 2517 ทรงเน้นแนวคิดพออยู่พอกิน พอดีพอประมาณ พึ่งพาตนเอง • 2531 พระราชนิพนธ์พระมหาชนก • 2538 ทรงอธิบายทฤษฎีใหม่และการประยุกต์ใช้ในภาคการเกษตร • 2540 กำเนิดศัพท์เศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางแก้ไขปัญหา • 2542 เผยแพร่ใจความหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • 2547 สรุปคุณลักษณะและเงื่อนไขของปรัชญา • ส.ค.ส 2547เกี่ยวกับ สำเภาและวิกฤตการณ์หรือระเบิด 4 ลูก • 2549UNDP ถวายรางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และตีพิมพ์รายงานประจำปีเผยแพร่ปรัชญา • 2550 ขยายผลสู่การปฏิบัติทุกภาคส่วนในสังคมไทย

  11. เศรษฐกิจพอเพียง ( SUFFICIENCY ECONOMY) ความรู้ คุณธรรม รอบรู้ รู้เท่าทันพึ่งตนเอง รอบคอบ รู้จักพอ ระมัดระวัง (ไม่ประมาท) รวย เงิน เอาเปรียบ บุกรุก ยึดครอง GDP เน้นศก. สุดโต่ง หลังเขา ทำเพื่อกิน อัตตานิยม อนุรักษ์ GDH ชุมชนนิยม Self Suficinecy Economy เศรษฐกิจพอเพียง Sufficiency Economy ทุนนิยม TRADE ECONOMY มีภูมิคุ้มกัน พอประมาณ มีเหตุผล ( สัมมาทิฏฐิ) อัตตกิลมถานุโยโค กามสุขัลลิกานุโยโค มัชฌิมาปฏิปทา (ทางสายกลาง)

  12. การประยุกต์ใช้มรรค8ในการสร้างฅน และโลกที่พอเพียง สัมมาทิฐิในวิถีการผลิตให้กับเกษตรกร สอนให้ผู้คนเกษตรกรอยู่ในหนทางที่ถูกต้อง วิธีการผลิต การดูแล พระแม่ธรณี แม่โพสพ แม่คงคา ไม่ใช้ยาใช้ปุ๋ยเคมี ฆ่าดินฆ่าหญ้า มีสัมมาทิฐิในการดำรงชีวิตพออยู่ พอกิน ขั้นที่1 ให้ครอบครัวพออยู่พอกินพอใช้ในเบื้องต้นก่อน ทำบุญทำทาน แปรรูป หากเหลือสุดท้ายแล้วจึงขาย เพื่อแลกเป็นเงิน ความตั้งใจตรง 2.สัมมาสังกัปปะ(ดำริชอบ) เป็นที่จะสร้างสิ่งต่างให้พร้อม เช่น 3000 กว่า โครง การพัฒนาองค์ความรู้ให้พึ่งตนเองได้ เห็นชอบ 1.สัมมาทิฐิ ที่จะสร้างพื้นฐาน ให้เกษตรกรพออยู่พอกินพอใช้ ( เมื่อคิดตรง) กริยาชอบ เกิดปัญญาและ ความสุขแท้ 4.สัมมากัมมันตะ การงานชอบ 5.สัมมาอาชีวะ อาชีพ 3.สัมมาวาจา สังคมและ โลกที่พอเพียง 8.สัมมาสมาธิ 7.สัมมาสติ สติก็จะรับรู้ตรง 6.สัมมาวะยามะ พยายามชอบ

  13. KARL MARK Communism Manufesto ฃุมฃนนิยม Socialism สังคมนิยม SELF – SUFFICIENCE พึ่งตนเองทุกอย่าง ทรัพยากรมีจำกัด จึงต้องเน้นการอนุรักษ์ วัดด้วยความสุข GDH เช่น ภูฐาน มีอากาศน้อย การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ BUMIPOL PARADIGM (SUFFICIENCY ECONOMY) เศรษฐกิจพอเพียง ทฤษฎีใหม่ “พอแล้วรวย” มีเงื่อนไข 1.ความรู้ ( รู้เรา รู้เขา รู้ฟ้าดิน รู้สถานการณ์ รู้รอบ รู้ลึก รู้เท่าทัน รอบคอบ รอบด้าน ระมัดระวังอย่างยิ่ง 2.คู่คุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต พึ่งตนเอง พึ่งกันเอง 3.ทำอย่างเป็นขั้นเป็นตอน จากพึ่งตนเอง พึ่งพากันเอง และแข่งขันได้เมื่อพร้อม 4,.เศรษฐกิจชุมชน ฐานราก ทางสายกลาง ADAM SMITH ( The Wealth of Nation) ค้าขายแบบแข่งขันเสรี เน้นแบ่งงานกันทำ(EFF) ราคากำหนดโดย มือปีศาจ เงินเป็นสื่อกลาง (พระเจ้า ) วัดความเจริญเติบโต GDP ร่วมกับทุนนิยม บริโภคนิยม MICRO & MACRO แก้ปัญหาโดยรัฐ เกษตรกรมีหน้าที่ผลิต การตลาดเป็นเรื่อง ของคนกลาง เน้นการพึ่งพาภายนอก เศรษฐกิจหลังเขา เศรษฐกิจตาโต

  14. ปี พ.ศ. 2547 สภาพภูมิอากาศแปรปรวน ภัยพิบัติธรรมชาติ โลกร้อน ลมพายุ แผ่นดินไหว ฯลฯ วิกฤตเศรษฐกิจ จากเศรษฐกิจตาโต วิกฤตน้ำมัน/อาหาร ความขัดแย้ง แย่งชิง สงคราม ความสามัคคีเป็นพลังค้ำจุนแผ่นดินไทย เชื้อโรคชนิดใหม่ๆ โรคระบาด

  15. วาทะกรรมเกี่ยวกับ “ทฤษฎีเก่า และทฤษฎีใหม่” บันใด 3 ขั้น ของลัทธิการล่าอาณานิคมสมัยใหม่ ตัวชี้วัดระบบการ ศึกษาที่ล้มเหลว กฎหมายมาส 11 ฉบับ ขั้นที่3 การยึดครอง ระบอบประชาธิปไตย แบบผู้แทน ที่ขาดคุณธรรม ขั้นที่2 การควบคุม ขาดจิตสำนึก รักแผ่นดิน ติดตำรา บ้าวิทยา ศาสตร์ ขั้นที่1 การครอบงำ มั่วกัน ทั้งแผ่นดิน บ้าจ้าวสัว ถูกปลูกฝังอุดมการณ์ทุนนิยม

  16. ชื่อว่าความเพียร “ควรทำแท้” ถ้าเรามิได้ทำความเพียรในมหาสมุทร เราจักไม่ได้สมบัตินี้ “สิ่งที่มิได้คิดไว้จะมีก็ได้ สิ่งที่คิดไว้จะพินาศก็ได้” “โภคะทั้งหลายทั้งหญิงก็ตามชาย ก็ตาม มิได้สำเร็จเพราะ ความคิดเท่านั้น”

  17. เมืองอวิชชา

  18. พราหม์มหาศาลเห็นพ้องกับพระราชดำริ และกล่าวว่า “พระราชาผู้เป็นใหญ่ ข้าพระองค์ยังมีศิษย์ดีที่ไว้ใจได้ และจะประดิษฐาน ปูทะเลย์ มหาวิชชาลัยได้แน่นอน มิถิลายังไม่สิ้นคนดี นับแต่อุปราชญ์จนถึงคนรักษาช้าง คนรักษาม้า โดยเฉพาะเหล่าอามาตย์ “ล้วนจารึกในโมหะภูมิ” ทั้งนั้น พวกนี้ขาดความรู้ทั้งทาง วิชาการทั้งความรู้ทั่วไป คือความสำนึกธรรมดา คนพวก นี้ ไม่รู้แม้แต่ ประโยชน์ส่วนตน คนพวกนี้ชอบ ผลมะม่วง แต่ ก็ทำลาย ต้นมะม่วง

  19. วังดิน นวัตกรรม ที่เกิดจาก..พลังแห่งความศรัทธา สถานที่ โพธิวิชชาลัย จ.สระแก้ว

  20. สุดท้ายของของกระบวนการที่ก่อให้เกิด”โลกาภิวัตน์”คือ “ต้นกำเนิดของโลกาวินาศ” • โพธิวิชชาลัย กำเนิดขึ้นแล้ว บนเส้นทางแห่งความยั่งยืน บนพื้นฐานของ “จิตวิญญาณ” ที่มองว่ามนุษย์ คือ ส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ความสมดุลของมนุษย์ คือส่วนหนึ่งของธรรมชาติ ความสมดุลของมนุษย์จึงสะท้อนความสมดุลของธรรมชาติ “ธรรมชาติที่ไม่สมดุลทุกวันนี้ บ่งบอกถึงสภาวะของที่ผิดปกติของมนุษย์นั่นเอง” “การสร้างความยั่งยืน จึงไม่ใช่ที่เทคโนโลยี แต่ต้องเป็นการสร้างความ”พอ”ให้เกิดขึ้นที่ใจของมนุษย์ “ใจที่รู้จักพอเท่านั้นที่จะนำความยั่งยืนมาสู่มวลมนุษย์ได้”

  21. โพธิวิชชาลัยกำลังสร้าง”เรือแห่งวิชชา ให้ผู้คนได้เห็นเป็นแบบอย่างอีกครั้ง “โพธิวิชชาลัย” เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อความพอเพียงและความยั่งยืน แปลว่า “สถานที่แห่งแสงสว่างที่จะสร้างพลังแห่งปัญญาอันยิ่งใหญ่” ไม่ได้สร้างขึ้นมาเพื่อมุ่งเน้นในการสร้าง “วิทยาการ”แต่มุ่งเน้นใน การสร้าง “วิชชา” ที่กรอบด้วยทั้งคุณธรรมและความรู้ทำให้พ้นทุกข์ “วิชชา”จึงหมายถึงปัญญาที่หลุดพ้นจากความโง่และความหลง เป็นที่ประจักษ์แล้วว่า “วิทยา”หรือ”วิชาการ” ที่ปราศจาก “ปัญญา” และ”คุณธรรม” กำลังพาโลกนี้ไปสู่”โลกาวินาศ” ด้วยภัยพิบัติ 4 ประการ

  22. ความล้มเหลวของการศึกษาไทยความล้มเหลวของการศึกษาไทย ความล้มเหลวที่ปฏิเสธไม่ได้ของการศึกษาไทย กว่า 50 ปี ที่ผ่านมา “การศึกษาแบบหมาหางด้วน” ที่มีทั้งอาคาร มีห้องเรียน มีเทคโนโลยี ที่ทันสมัย มีงบประมาณมหาศาล มีอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ แต่กับไปผลิต “ผู้ทำลาย” มากกว่า “ผู้สร้าง” ผลิต ฅนที่ “อกตัญญู” ต่อบุพการี ทิ้งพ่อ/แม่ ทิ้งลูก ไปรับใช้ทุน มากกว่าผลิต “ฅนกตัญญู” ที่รู้คุณแผ่นดิน

  23. ความรู้ที่มีประโยชน์จากทั่วโลกความรู้ที่มีประโยชน์จากทั่วโลก ศึกษาวิจัย / ทดลองที่สวนจิลดา ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ให้ศูนย์การศึกษาฯ ทำหน้าที่เสมือน ”พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต” ห้วยคล่องไคร้ฯ ภูพาน ฯ เขาหินซ้อนฯ คุ้งกะเบนฯ ห้วยทรายฯ พิกุลทองฯ สู่ศูนย์อบรมของเครือข่าย ภูมิปัญญาไทย พหุภาคีปราชญ์ ชาวบ้านอีสาน เกษตรกรรม ทางเลือก กสิกรรม ไร้สารพิษ กสิกรรม ธรรมชาติ ต่อยอดพัฒนาเป็นเทคโนโลยีที่เหมาะสม / ภูมิปัญญา ถ่ายทอดให้เกษตรกรเพื่อทดแทนเคมี

  24. ถอยไปตั้งหลักไม่ใช่ถอยหลังเข้าคลองถอยไปตั้งหลักไม่ใช่ถอยหลังเข้าคลอง Back to the Source คืนสู่ธารชีวิต Back to the Roots คืนสู่รากเหง้า Back to Basic คืนสู่ความเรียบง่าย Back to the Nature คืนสู่ธรรมชาติ

  25. •“ทำเป็นขั้นเป็นตอน จนพออยู่ พอกิน พอใช้..” • ไม่ใช้อำนาจ • ไม่แยกส่วน •“ไม่ทำ โครงการ แต่สร้างระบบ” วิธีทำ วิธีจัดการ • ไม่เลียนแบบ • ไม่ Top-down ปูพรม แต่ตอบสนองความต้องการที่แท้จริง • ไม่คิดแต่จะทำเพื่อขาย วิธีคิด •“ขึ้นต้นไม้ทางต้น อย่าขึ้นทางปลาย” •“เศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่ทำกินทำใช้เองทุกอย่าง” •“กินเป็น ใช้เป็น อยู่เป็น – มีความสุข” •“ไม่เอาเงินนำหน้า ปัญญาตามหลัง”

  26. แนวทางและรูปธรรมการเคลื่อนงานเศรษฐกิจพอเพียงแนวทางและรูปธรรมการเคลื่อนงานเศรษฐกิจพอเพียง 1.เศรษฐกิจพอเพียงทำยาก แต่ทำได้ “เริ่มต้นที่ใจ” ใจต้องพอ 2.ต้องเรียนรู้อย่างมีแบบแผน” ประชาพิจัย แผนแม่บทชุมชน 3.“จากสังคมเกษตร สังคมอุตสาหกรรม สู่สังคมความรู้” 4.สร้างระบบ เศรษฐกิจท้องถิ่น (ชุมชน) ที่พึ่งตนเองได้” 5.สร้าง คลัสเตอร์ วิสาหกิจชุมชนที่เข้มแข็งและพึ่งตนเอง 6.เรียนรู้ “พออยู่ พอกิน พอใช้ ให้ได้ก่อนแล้วค่อย พอร่มเย็น พอรักษา พอพลังงานทดแทน” และพออื่นๆ ไม่ใช่ “อยู่ดี กินดี” มันต้องไปให้ถึง “อยู่รอดปลอดภัย” ด้วย

  27. ยุทธศาสตร์เกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเครือข่ายยุทธศาสตร์เกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเครือข่าย Sufficiency Economy เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นใจ สถานการณ์ แชมป์ ไม่เอื้อ ยั่งยืน ครัวโลก แข็งแรง เขา ฐานทรัพยากร ดิน น้ำ ป่า สมุนไพร หยุดฆ่า อ่อนแอ ยุทธวิธี หยุดเผา บริหารแมลง เป็นใจ หยุดเปลือย จุลินทรีย์ คืนชีวิตให้แผ่นดิน ฟ้าดิน หญ้าแฝก ไม่เอื้อ ศรัทธา เครือข่าย รัฐ คน เกษตรกร พลังแผ่นดิน เอกชน แข็งแรง ตลาด เรา อ่อนแอ พระ สถาบันฯ สื่อ อ่อนแอ เพราะพึ่งภายนอก ขาดองค์ความรู้ เทคนิค คุณภาพ/มาตรฐาน ทุน ตลาด การ จัดการ เสาเข็ม พึ่ง ตนเอง ฝึก เทคนิค ทุน สังคม

  28. ไปสู่ การเปลี่ยนระบบการเกษตรทั้งหมด ระบบเกษตรกรรมยั่งยืนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มติครม. 21 มิย 48 3 1 2 4 เกษตรปลอดภัย จากสารพิษ เกษตรไร้สารพิษ เชิงเดี่ยว เกษตรกรรมทางเลือก ระบบเกษตรแนวทฤษฎีใหม่ ลดปัญหาสุขอนามัยและ การค้าระหว่างประเทศ เกษตรทางเ ลือก ไร้สารพิษ ORGANIC เกษตรผสมผสาน - วนเกษตร - เกษตรผสมผสาน - ไร่นา สวนผสม - เกษตรทฤษฎีใหม่ -เกษตรประณีต ยังมีการใช้สารเคมีบ้างในจำนวนที่น้อยมาก 5 เกษตรกรรมไร้สารพิษ ( เกษตรอินทรีย์ชีวภาพ สร้างมาตรฐานไท ) เทคนิค IPM มาตรฐาน GAP เกษตร ธรรมชาติ ( organic ) ตามมาตรฐานสากล แนวทางที่ 1 นโยบาย Food Safety ลดการใช้สารเคมี เทคนิค -กสิกรรมธรรมชาติ - กสิกรรมไร้สารพิษ เทคนิคเกษตรอินทรีย์ มีระบบมาตรฐานและ การตรวจสอบรับรอง ระบบนิเวศที่ มีความสมดุล ธรรมชาติดูแล 2. นโยบาย “กระจาย ความเสี่ยงด้านราคา ปรับปรุง ลด ละ เลิก เกษตรกระแสหลัก เกษตรเชิงเดี่ยว (ใช้เคมี) แนวทางที่ 3 เกษตรอินทรีย์วาระแห่งชาติ ( มติ ครม.4 มค 48 ) เกษตรอินทรีย์ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เปลี่ยนแปลง ทฤษฎีเก่า ทฤษฎีใหม่

  29. ความเห็นเกี่ยวกับทฤษฎี สองสูง เงินเดือนสูง ตามไม่ทันน้ำมัน ผู้บริโภค วงจร อุบาทว์ การตลาด รายจ่ายสูง ราคาสูง สินค้าอุปโภค บริโภคจะแพงขึ้น เซเว่น MACRO การแปรรูป ธุรกิจเอกชน& บริษัทข้ามชาติ ซี้อสินค้าแพง ราคาสูง? เกษตรกร ควบคุมราคา ไม่ได้ การผลิต ผลผลิตราคาสูง จนยิ่งกว่าเดิม มั่งคั่ง ร่ำรวย ราคาสูง เมล็ดพันธ์ ปุ๋ย ยา เครื่องจักรกล ปัจจัยการผลิต

  30. เจริญวิทย์ เสน่หา www: moac.go.th Email: atsap_agr@yahoo.com ติดต่อที่ คุณวรรณา บุรีรักษ์ โทร. 089-2366187, 02-2829217 Fax 02- 2816599

More Related