720 likes | 1.3k Views
บทนำทางด้าน ระบาดวิทยา. นายแพทย์ประยูร กุนาศล. การป้องกันโรค. ขอบเขตของปัญหา การรักษา ปัจจัยเสี่ยง การลดความเสี่ยงในประชากร. การดำเนินโรค. ผลการักษา หาย คุมอาการได้ พิการ ตาย. Symptoms. Diagnosis. แข็งแรงดี. Disease Onset. Seek Care. Treatment.
E N D
บทนำทางด้าน ระบาดวิทยา นายแพทย์ประยูร กุนาศล
การป้องกันโรค • ขอบเขตของปัญหา • การรักษา • ปัจจัยเสี่ยง • การลดความเสี่ยงในประชากร
การดำเนินโรค • ผลการักษา • หาย • คุมอาการได้ • พิการ • ตาย Symptoms Diagnosis แข็งแรงดี Disease Onset Seek Care Treatment ป้องกันตรงไหน – ป้องกันอะไร
Comprehensive Health Care • การส่งเสริมสุขภาพ Health Promotion • การป้องกันเฉพาะโรค Specific Protection • การวินิจฉัยแต่แรกเริ่มและรักษาทันที Early Diagnosis and Prompt Treatment • การจำกัดความพิการ Disability Limitation • การฟื้นฟูสภาพ Rehabilitation
ปรัชญา • โรคต่าง ๆ ไม่ได้เกิดด้วยความบังเอิญ • โรคต่าง ๆ สามารถป้องกันได้ • การป้องกันโรคได้มีประสิทธิผล • มากกว่าการรักษาโรค
Clinical & Sub-clinical โรคแสดงอาการ Symptomatic โรคไม่แสดงอาการ Asymptomatic
การดำเนินโรคและระดับของการป้องกันโรคการดำเนินโรคและระดับของการป้องกันโรค • ปฐมภูมิ • Primary Prevention • สร้างเสริมสุขภาพ • การให้วัคซีน ทุติยภูมิ Secondary Prevention ตติยภูมิ Tertiary Prevention Stage of Susceptibility Stage of Subclinical Stage of Clinical Stage of Recovery Disability or death ยังไม่เกิดโรค เกิดโรคแล้ว
การป้องกันโรค • ระดับปฐมภูมิ Primary Prevention • ควบคุมปัจจัยเสี่ยง • การรณรงค์เลิกสูบบุหรี่, การให้วัคซีนในเด็ก • ระดับทุติยภูมิ Secondary Prevention • ลดความเสียหายจากการเกิดโรคโดยการให้การรักษาตั้งแต่ ระยะที่โรคเริ่มต้น early diagnosis and treatment • การตรวจนะเร็งปากมดลูกในสตรี • ระดับตติยภูมิ Tertiary Prevention • ลดภาวะแทรกซ้อนของการเกิดโรค • การให้การฟื้นฟูสภาพหลังการเกิดอัมพาต
John Snow • สูติแพทย์คนแรกที่ใช้การดมยาสลบในการทำคลอด • ทำการศึกษาการตายจากการระบาดของอหิวาตกโรค • 2392 การระบาดของอหิวาต์ กับบริษัทน้ำประปา Lambeth Company • 2397 outbreak: การวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบมากขึ้น
John Snow • ทำแผนที่แสดงการตายจากอหิวาต์ในกรุงลอนดอน ในปี พ.ศ. 2397 • มีการตาย 500 รายในเวลา 10 วัน ของเดือนสิงหาคม • การตายทุกรายเกิดขึ้นเป็นวงรอบระยะ 250 หลา จากถนนบอร์ด โกล์เดน สแควร์ ใกล้กับ โซโห
John Snow • ทฤษฎีเบื้องต้นของเขาคือการเกิดโรคนั้นเกี่ยวข้องกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดในน้ำที่ใช้อุปโภคบริโภค • Snow ร้องขอให้เทศบาลถอนหัวจ่ายน้ำจากจุดศูนย์กลางการระบาดเมื่อวันที่ 7 กันยายน • ภายในเวลา 1 สัปดาห์ หลังจากถอนหัวจ่ายน้ำ การระบาดของโรคอหิวาต์ลดลงอย่างช้า ๆ นั้น หายไปจากพื้นที่ดังกล่าว
ข้อสรุปของ นพ.Snow • น้ำที่บริษัท Southwark & Vauxhall ใช้ทำน้ำประปานำมาจากกลางกรุงลอนดอนบริเวณ (Battersea Fields), มีการปนเปื้อนสิ่งปฏิกูลที่มาจากผู้ป่วยอหิวาต์เป็นแหล่งก่อการระบาด • ในขณะที่บริษัท Lambeth Company ทำน้ำประปาจากน้ำที่อยู่ต้นน้ำของแม่น้ำเทมส์บริเวณ Thames Ditton ซึ่งสะอาดกว่า
John Snow • 2397 : การระบาดของอหิวาต์ในลอนดอน • 2426 : Robert Koch ค้นพบ Cholera vibrio • 2448 : เชื้อก่อโรคอหิวาต์ได้รับการยืนยันการก่อโรค
วัตถุประสงค์การเรียนรู้วัตถุประสงค์การเรียนรู้ • เพื่อเข้าใจ “หลักการ” ทางด้านระบาดวิทยา • ผู้เรียนสามารถทราบถึงการประยุกต์ใช้ ความรู้ทางด้านระบาดวิทยา ในการควบคุมป้องกันโรค
บทนำ เรียน การนับ ที่ถูกต้อง (เข้าใกล้ความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในธรรมชาติมากที่สุด) • จำนวนนักเรียน ในประเทศไทย พ.ศ. 2546 ? • จำนวนผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS ในประเทศไทย พ.ศ. 2546 ? • จำนวนผู้ประสบอุบัติเหตุจากการขับขี่จักรยานยนต์ 2546 ? • ความสูงของคนไทยวัยผู้ใหญ่ ?
ระบาดวิทยา • การกระจายของโรคในประชาชน (Prevalence, Incidence) • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องหรือเป็นต้นเหตุของการเกิดโรค (Risk factors, Causes of diseases) • วิทยาศาสตร์พื้นฐานของการสาธารณสุข “The study of the distribution and determinants of health-related states or events in specified populations and the application of this study to control of health problems” Last JM:A dictionary of Epidemiology, ed 2. New York, Oxford University Press, 1988
“โรคต่างๆที่เกิดขึ้นนั้นไม่ได้กระจาย อย่างสม่ำเสมอในประชากร” • ศึกษาว่าในโรคต่างๆนั้น อัตราการเกิดโรค (เช่นการติดเชื้อ HIV) จะแตกต่างกันไปในกลุ่มตัวแปรทางด้านประชากรต่าง ๆ (เช่น อายุ, เพศ, สถานที่) • เมื่อเราพบว่าการกระจายของอัตราการเกิดโรคไม่ได้สม่ำเสมอ ในประชากรกลุ่มต่าง ๆ ตามกลุ่มบุคคล เวลาและสถานที่นอกจาก จะสามารถกำหนดกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคได้แล้ว ยังสามารถสร้างสมมติฐานของการเกิดโรคได้อีกด้วย
การประยุกต์ใช้ระบาดวิทยา“นอกจากจะใช้ในการ กำหนดกลุ่ม ที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคแล้ว ยังสามารถนำไปสู่การ สร้างสมมติฐาน ของการเกิดโรคได้อีกด้วย”
การสำรวจความชุก ของโรคความดันสูง กรุงฮานอย ชาวเขา
ชาวฮานอย HT rate = 20/1000 ชาวเขา HT rate = 80/1000 “เราพบว่ามีอัตราโรคความดันสูงในกลุ่มชาวเขามากกว่าประชาชนที่อาศัยในกรุงฮานอย” ชาวเขาเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคความดันสูง สมมติฐานของการเกิดโรคความดันสูง: สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่ชาวเขา ได้รับอยู่เช่น การบริโภคเกลือในระดับสูงมากกว่าคนในเมืองหลวง อาจเป็นต้นเหตุของการเกิดโรคความดันโลหิตสูง
สามเหลี่ยมระบาดวิทยา • อายุ • เพศ • พันธุกรรม • พฤติกรรม คน เชื้อ สิ่งแวดล้อม • ทางกายภาพ • เศรษฐกิจ • สังคม • เชื้อโรค • สารเคมี • สภาพกายภาพ
วัตถุประสงค์ของระบาดวิทยา 5 ข้อ 1. เพื่อค้นหาสาเหตุของการเกิดโรคและปัจจัยเสี่ยง 2. เพื่อระบุขอบเขตของการเกิดโรคในชุมชน 3. เพื่อศึกษาการดำเนินโรคและประวัติธรรมชาติของการเกิดโรค 4. เพื่อประเมินกิจกรรมการป้องกันโรคและการรักษา 5. เพื่อให้ข้อมูลพื้นฐานสำการพัฒนานโยบายสาธารณะ
การใช้ระบาดวิทยาในการค้นหาสาเหตุของการเกิดโรคการใช้ระบาดวิทยาในการค้นหาสาเหตุของการเกิดโรค Effect ผล Cause สาเหตุ • DISEASE • (การเกิดโรค) • Lung Cancer • RISK FACTOR • (ปัจจัยเสี่ยง) • Cigarette
คำถามการวิจัย 2 ระดับ • ขนาดของปัญหา • ความชุกของโรคความดันสูงในประชากร • มีจำนวนประชากรกี่คนที่ไม่ได้รับการบริการทางแพทย์ที่เหมาะสม • ความสำพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา • การเกิดโรคความดันสูงสัมพันธ์กับระดับการศึกษาหรือไม่ ? • ผู้ที่ไม่ได้รับบริการทางการแพทย์ที่เหมาะสมมีความสัมพันธ์ กับท้องถิ่นที่อาศัยอยู่ ?
การให้คำจำกัดความของโรคDisease Definitions • ระบุให้ชัดเจน ว่า อะไรจะนับว่าเกิดโรคที่สนใจ • คำจำกัดความของโรค • ค่าทางห้องปฏิบัติการ • อาการ; Major and Minor criteria • การวินิจฉัยของแพทย์ในประวัติทางการแพทย์ • ICD10
ตาบอด • ตาบอดสนิท …… 10 ล้าน? • น้อยกว่า 6/120 …… 28 ล้าน (1978) • น้อยกว่า 6/60 ….. 42 ล้าน (1978) คำจำกัดความที่แตกต่างกันทำให้จำนวน ของผู้ป่วยที่แตกต่างกัน
การสำรวจโรคเบาหวาน กรุงฮานอย ชาวเขา
ชาวเขา DM = 1,600 ราย ฮานอย DM = 32,000 ราย ชาวเขามีปัญหาโรคเบาหวานมากกว่าชาวเมืองฮานอย X ชาวเขา จำนวนประชาชน = 60,000 DM rate = 26.6 /1000 ฮานอย จำนวนประชาชน = 3,000,000 DM rate = 10.6 /1000 ชาวเมืองฮานอยมีปัญหาโรคเบาหวานมากกว่าชาวเขา
การวัด อัตรา การเกิดโรค • การนับ จำนวน การเกิดโรค : • ไม่สามารถนำมา เปรียบเทียบ กันได้ • ไม่สามารถระบุความเสี่ยงของการเกิดโรค • (the probability to develop the outcome) เราจะใช้อัตราในการเปรียบเทียบ
อัตรา • เครื่องมือที่ใช้ในระบาดวิทยาที่สำคัญ คือ การเปรียบเทียบอัตรา • อัตรา (Rate) = ตัวตั้ง ตัวหาร • อัตราตาย (Mortality Rate) • ความชุก (Prevalence) • อุบัติการ (Incidence)
การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
การติดต่อ ของเชื้อโรค (Transmission of Infectious Agents) การติดต่อโรคคือ การที่เกิดกลไกของการถ่ายทอดเชื้อโรคจากแหล่งโรค หรือ แหล่งรวมโรคไปสู่คน • ห่วงโซ่ของการติดต่อโรค • ช่องทางของการติดต่อโรค • ความสามารถในการติดเชื้อและการมีภูมิคุ้มกันการติดเชื้อ
ห่วงโซ่ของการติดต่อโรค : ปัจจัย 6 อย่าง • เชื้อ Agent • แหล่งแพร่เชื้อ Reservoir • ช่องทางออกของเชื้อ Portal of exit • หนทางของการแพร่เชื้อ Mode of transmission • ชิองทางเข้าของเชื้อ Portal of entry • ความสามารถของการติดเชื้อของบุคคล Susceptible host
ช่องทางของการติดต่อโรค • ทางตรง Direct • สัมผัสโดยตรง direct contact • สัมผัสจากละอองสารคัดหลั่ง direct droplet • ทางอ้อม Indirect • สื่อกลาง vector • เครื่องใช้ fomites • ทางอากาศ Airborne • ละอองเล็ก droplet nuclei • ฝุ่น dust
ความสามารถในการติดเชื้อและการมีภูมิคุ้มกันการติดเชื้อความสามารถในการติดเชื้อและการมีภูมิคุ้มกันการติดเชื้อ • ภูมิคุ้มกันที่ได้มาภายหลัง Acquired immunity • ภูมิคุ้มกันสร้างเองActive humoral immunity • ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูปPassive immunity • ภูมิคุ้มกันของกลุ่มชนHerd immunity
การป้องกันโรคติดต่อ ปัจจัยสำคัญ 3 ประการ: • การนำออก, ขจัด, หรือควบคุมขอบเขตของสาเหตุหรือแหล่งแพร่เชื้อโรค • การตัดวงจรของลูกโว่การติดต่อของเชื้อ • การป้องกันบุคคลที่ยังไม่มีภูมิคุ้มกันโรค
การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินโรค • ผลการักษา • หาย • คุมอาการได้ • พิการ • ตาย Symptoms Diagnosis แข็งแรงดี Disease Onset Seek Care Treatment ป้องกันตรงไหน – ป้องกันอะไร
โรคหัวใจและหลอดเลือด • โรคหลอดเลือดในสมอง • อัมพาตเฉียบพลัน • โรคหัวใจขาดเลือด • โรคความดันโลหิตสูง
ปัจจัยเสี่ยงสำคัญต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด ปัจจัยเสี่ยงสำคัญต่อการเกิดโรคหัวใจและ หลอดเลือดในชุมชนไทยที่เป็นเป้าหมาย และมีวิธีการป้องกันควบคุมได้ ได้แก่ • ภาวะความดันโลหิตที่สูงขึ้น • การบริโภคยาสูบ
ปัจจัยเสี่ยงสำคัญต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด • การมีวิถีชีวิตนั่ง ๆ นอน ๆ (Sedentary life style) • การรับประทานอาหารเกิน ไม่ได้สัดส่วนเหมาะสม(Dietary Imbalance) • สหปัจจัยของหลอดเลือดเสื่อมอื่นๆ ได้แก่ ภาวะเบาหวาน ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ไขมันผิดปกติในเลือด
Hypertention • มีสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ในลักษณะคนเมืองมากขึ้น • รับประทานอาหารที่มีเกลือโซเดียมหรือเกลือแกงปริมาณสูงมากกว่า 6 กรัมต่อวัน หรือ ประมาณ หนึ่งช้อนชาของเกลือแกง • รับประทานผักผลไม้ที่ไม่เพียงพอ • บริโภคแอลกอฮอล์เป็นปริมาณสูงเป็นประจำ