1.8k likes | 2.78k Views
การติดตาม กำกับ ตรวจสอบงานการเงิน การพัสดุของหน่วยงาน. หัวข้อนำเสนอ. 1. ภาพรวมระบบ GFMIS 2. การกำกับและตรวจสอบข้อมูลการจัดซื้อและการ เบิกจ่ายเงิน 3. หัวใจของระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงิน 4. อุทาหรณ์ก่อนทำผิด. 2. การกำกับและตรวจสอบข้อมูลการจัดซื้อและการเบิกจ่ายเงิน.
E N D
การติดตาม กำกับ ตรวจสอบงานการเงิน การพัสดุของหน่วยงาน
หัวข้อนำเสนอ 1. ภาพรวมระบบ GFMIS 2. การกำกับและตรวจสอบข้อมูลการจัดซื้อและการ เบิกจ่ายเงิน 3. หัวใจของระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงิน 4. อุทาหรณ์ก่อนทำผิด
2. การกำกับและตรวจสอบข้อมูลการจัดซื้อและการเบิกจ่ายเงิน
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 21 บัญญัติว่า ให้รัฐมนตรีเป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุมงบประมาณเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมายระเบียบหรือข้อบังคับและให้มีอำนาจหน้าที่... กำหนดระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลังด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 3 ส่วนที่ 2 หลักเกณฑ์การเบิกเงิน ข้อ 15 การขอเบิกเงินทุกกรณีให้ระบุวัตถุประสงค์ที่จะนำเงินนั้น ไปจ่าย และห้ามมิให้ขอเบิกเงินจนกว่าจะถึงกำหนด หรือใกล้จะถึงกำหนดจ่ายเงิน ข้อ 16 หน่วยงานผู้เบิกจะจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะ ที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีอนุญาตให้จ่ายได้ หรือตามที่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง
หมวด 3 ส่วนที่ 2 หลักเกณฑ์การเบิกเงิน (ต่อ) ข้อ 17 ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณใด ให้เบิกเงินจากงบประมาณรายจ่ายของปีนั้นไปจ่าย ข้อ 21 การขอเบิกเงินทุกกรณี ส่วนราชการมีหน้าที่ตามกฎหมาย ที่จะต้องหักภาษีใดๆ ไว้ ณ ที่จ่าย ให้บันทึกภาษีเป็นรายได้แผ่นดินไว้ในคำขอเบิกเงินนั้นด้วย เว้นแต่ได้มีการหักภาษีไว้แล้ว
ข้อ 24 การขอเบิกเงินของส่วนราชการสำหรับการซื้อทรัพย์สิน ใบสั่งซื้อ ใบสั่งจ้าง มีวงเงินตั้งแต่ห้าพันบาทขึ้นไป โดยกรมบัญชีกลางจ่ายเงินเข้าบัญชีให้เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงินของส่วนราชการโดยตรง แต่หากจำนวนเงินไม่ถึง 5,000 บาท ไม่ต้องจัดทำใบสั่งซื้อสั่งจ้างในระบบ โดยกรมบัญชีกลางจะจ่ายเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของส่วนราชการเพื่อไปจ่ายต่อให้เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงินต่อไป หรือหากส่วนราชการต้องการให้จ่ายเงินเข้าบัญชีให้กับเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงินของส่วนราชการโดยตรงก็ได้ การซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ หรือเช่าทรัพย์สิน ให้ส่วนราชการดำเนินการขอเบิกเงินจากคลังโดยเร็ว อย่างช้า ไม่เกินห้าวันทำการ นับจากวันที่ได้ตรวจรับถูกต้องแล้ว
ระเบียบ/หนังสือว่าด้วยการพัสดุระเบียบ/หนังสือว่าด้วยการพัสดุ 1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 3. หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.3/ว403 ลงวันที่ 8 ตุลาคม 2555 เรื่องการเชื่อมโยงข้อมูลจากระบบ e-GP ระยะที่ 2 ไปยังระบบ GFMIS Web online (กรณีการสร้างใบสั่งซื้อสั่งจ้างในระบบ GFMIS ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 และระบุแหล่งของเงินเป็นปีงบประมาณ พ.ศ. 2556)
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง ตามระเบียบฯ 35 ข้อ 27 เสนอหัวหน้าส่วนราชการ ขออนุมัติสั่งซื้อ/สั่งจ้าง จากผู้มีอำนาจ ตามระเบียบฯ ข้อ 65 - 67 ดำเนินการจัดหาตามระเบียบฯ จนได้ตัวผู้ชนะราคา แจ้งผู้ชนะราคาให้มาทำสัญญา ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง ควบคุมพัสดุและการจำหน่ายพัสดุ
Token keyสำหรับส่วนราชการ 1. Token key ผู้บันทึก - ผู้ใช้งานจะได้รับ Token Key ที่มีป้ายชื่อสีขาวติดอยู่ พร้อมรหัสผ่าน (Password) - ใช้สำหรับการบันทึกข้อมูล ขอเบิกเงินผ่านระบบ GFMIS 2. Token key ผู้อนุมัติ - ผู้ใช้งานจะได้รับ Token Key ที่มีป้ายชื่อสีฟ้าติดอยู่ พร้อมรหัสผ่าน (Password) - ใช้สำหรับการอนุมัติข้อมูล ขอเบิกเงินผ่านระบบ GFMIS 3. Token key ผู้อนุมัติ - ผู้ใช้งานจะได้รับ Token Key ที่มีป้ายชื่อสีส้มติดอยู่ พร้อมรหัสผ่าน (Password) - ใช้สำหรับการอนุมัติข้อมูล ขอจ่ายเงินผ่านระบบ GFMIS ควรมอบเป็นคำสั่ง หากไม่มีเวลากำกับดูแล
ทะเบียนคุมเงินประจำงวดทะเบียนคุมเงินประจำงวด
รายละเอียดการคุมเงินประจำงวดรายละเอียดการคุมเงินประจำงวด
สมุดคู่มือวางฎีกาเบิกเงินคลังสมุดคู่มือวางฎีกาเบิกเงินคลัง
รายละเอียดการวางฎีกาเบิกเงินคลังรายละเอียดการวางฎีกาเบิกเงินคลัง
รายงานการขอเบิกเงินคงคลัง (ขบ.02)
หน้างบใบสำคัญค่าจ้างเหมาบริการบุคคลภายนอกหน้างบใบสำคัญค่าจ้างเหมาบริการบุคคลภายนอก
เอกสารประกอบการส่งมอบงานเอกสารประกอบการส่งมอบงาน
แนบสำเนาบัตรประชาชนของผู้รับจ้างแนบสำเนาบัตรประชาชนของผู้รับจ้าง
ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการจัดซื้อ/เบิกจ่ายเงินประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการจัดซื้อ/เบิกจ่ายเงิน ก่อนอนุมัติท่านควรตรวจสอบ
ตัวอย่าง ตรวจสอบเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร
การบันทึกใบสั่งซื้อสั่งจ้างการบันทึกใบสั่งซื้อสั่งจ้าง
การตรวจสอบข้อมูลการเบิกจ่ายเงินกรณีจ่ายเข้าบัญชีส่วนราชการการตรวจสอบข้อมูลการเบิกจ่ายเงินกรณีจ่ายเข้าบัญชีส่วนราชการ
การบันทึกรายการขอเบิกการบันทึกรายการขอเบิก
สรุปประเด็นที่เกี่ยวข้องในการจัดซื้อสรุปประเด็นที่เกี่ยวข้องในการจัดซื้อ และการเบิกจ่ายเงิน 1. มีความจำเป็นต้องจัดซื้อ—ดำเนินการตามระเบียบ ฯ พร้อมกับต้องบันทึกข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในระบบ e-GP 2. หนี้ถึงกำหนดชำระ (มีเหตุที่จะต้องเบิก) ---เอกสาร/หลักฐานประกอบการขอเบิก 3. ต้องการจ่ายให้ใคร - เข้าหน่วยงาน---บัญชีธนาคารรัฐวิสาหกิจ - ตรงผู้ขาย --- ต้องมีข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ GFMIS 4. ความถูกต้องของรายงานที่ขอเบิก --- รายงานสรุปการขอเบิก 5. ความถูกต้องของรายงานที่ขอจ่าย --- ใบเสร็จรับเงิน/ใบสำคัญรับเงิน
ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี WWW.bb.go.th
งบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณรายจ่าย งบส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ งบกลาง บุคลากร ดำเนินงาน ลงทุน อุดหนุน รายจ่ายอื่น
การโอนและหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณการโอนและหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ ต้องดำเนินการเพื่อ แก้ไขปัญหาในการดำเนินงาน หรือ เพิ่มประสิทธิภาพ หรือคุณภาพการให้บริการ หรือ การพัฒนาบุคลากรหรือเทคโนโลยี โดยต้องคำนึงถึง ความประหยัด ความคุ้มค่า และต้องแสดงเหตุผล ความจำเป็นหรือความเหมาะสมได้ และต้อง(ไม่) ไม่ทำให้เป้าหมายผลผลิตตามแผนการปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ลดลง ในสาระสำคัญ ไม่ มีหนี้ค่าสาธารณูปโภคค้างชำระเมื่อสิ้นปีงบประมาณ (ข้อ 23)
ทั้งนี้ หัวหน้าส่วนราชการสามารถโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ได้ตามกรอบดังกล่าวใน 3 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ 1การโอนเปลี่ยนแปลงระหว่างงบรายจ่าย และระหว่างผลผลิต/โครงการ ภายใต้แผนงบประมาณเดียวกัน หัวหน้าส่วนราชการฯ สามารถโอนเปลี่ยนแปลงได้ด้วยตนเอง ได้ทุกงบรายจ่าย ยกเว้นงบบุคลากร (ข้อ 24) ยกเว้น : (1) ต้องไม่เป็นการกำหนดอัตราข้าราชการใหม่ (2) จัดหาครุภัณฑ์ยานพาหนะ (3) ค่าที่ดิน (4) ต้องไม่เป็นค่าเดินทางไป ตปท. ที่ไม่ได้กำหนดไว้ ในแผนฯ (5) ค่าครุภัณฑ์ ราคาต่อหน่วยเกินกว่า 1 ล้านบาท หรือค่าสิ่งก่อสร้าง ราคาต่อหน่วยเกินกว่า 10 ล้านบาท (6) ต้องไม่เป็นรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ
ทั้งนี้ หัวหน้าส่วนราชการสามารถโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ได้ตามกรอบดังกล่าวใน 3 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ 2การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ที่เหลือจ่ายภายใต้แผนงบประมาณเดียวกัน ต้องเป็นงบฯ เหลือจ่ายจากการบรรลุเป้าหมาย หรือหลังการจัดซื้อจัดจ้างแล้ว หัวหน้าส่วนราชการฯ สามารถโอนเงินเหลือจ่ายดังกล่าวไปใช้จ่ายในรายการภายใต้ แผนงบประมาณเดียวกันได้ด้วยตนเอง (ข้อ 25) ยกเว้น : (1) ต้องไม่เป็นรายการค่าที่ดิน (2) ต้องไม่เป็นรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ (3) การใช้จ่ายหรือสมทบค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศที่ไม่ได้กำหนดไว้ในแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ (4) การจัดหาครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้างที่มีวงเงินต่อหน่วยเกินกว่า 1ล้านบาท และ 10 ล้านบาท (5) จัดหาครุภัณฑ์ยานพาหนะใหม่ (ยกเว้นทดแทน) (6) ต้องไม่มีหนี้สาธารณูปโภค/ ค่าใช้จ่ายที่ผูกพันตามกฎหมายค้างชำระ
ทั้งนี้ หัวหน้าส่วนราชการสามารถโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ได้ตามกรอบดังกล่าวใน 3 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ 3การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ไปเพิ่มวงเงินค่าครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง ภายใต้แผนงบประมาณเดียวกัน เนื่องจากได้ดำเนินการจัดหาแล้วเกินวงเงินที่ได้รับ ทั้งนี้วงเงินส่วนเกินดังกล่าวต้องไม่เกิน 10% ของวงเงินงบประมาณ หัวหน้าส่วนราชการฯ สามารถโอนเงิน จากงบรายจ่ายใดๆ หรือนำเงินนอกงบประมาณมาสมทบเพิ่มเติมได้ (ข้อ 26) ทั้งนี้ ให้หัวหน้าส่วนราชการฯ รายงานการโอนเปลี่ยนแปลง ต่อ สงป. ไม่เกิน 15 วัน ตามแบบ สงป. กำหนด (ข้อ 28 ระเบียบบริหารฯ 48)
ชอบด้วยกฎหมาย อายุ 3ปีไม่เกิน 25 ปี คนที่ 1 - 3 ยกเว้น บุตรบุญธรรม บุตรซึ่งให้ผู้อื่น บุตร
สิทธิที่ได้รับ อนุบาล – ปวส. และ ปริญญาตรี สถานศึกษาของทางราชการ จ่ายจริงตามที่ กค.กำหนด (ว.390 ลว. 30 ตค. 2552) จ่ายจริงปีละไม่เกิน 20,000 บาท(ว.390และว.15)
สิทธิที่ได้รับ สถานศึกษาของเอกชน อนุบาลถึง มัธยมปลาย สูงกว่ามัธยมปลาย ถึงอนุปริญญา(ปวส.) ปริญญาตรี จ่ายจริง 1/2ที่จ่ายจริง ไม่เกินค่าธรรมเนียมการเรียนในประเภทวิชาหรือสายอาชีพตามว.390 1/2 ที่จ่ายจริงไม่เกิน ปีละ 20,000 บาท ตามว. 390 ลว.30 ตค.52และ ว.15 ตามที่ กค. กำหนด ว.390ลว. 30 ตค.2552
(1) ระดับอนุบาลหรือเทียบเท่าไม่เกินปีละ 4,650.- (2) ระดับประถมศึกษาหรือเทียบเท่าไม่เกินปีละ 3,200.- (3) ระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเท่าไม่เกินปีละ 3,900.- หมายเหตุอยู่ใน 6 รายการ ได้แก่ 1) ค่าสอนคอมพิวเตอร์ที่จัดให้เกินมาตรฐาน 2) ห้องเรียนพิเศษ EP3) ห้องเรียนพิเศษ MEP 4) ห้องเรียนพิเศษด้านภาษาต่างประเทศ ด้านวิชาการ และด้านอื่นๆ 5) ค่าจ้างครูชาวต่างประเทศ 6) ค่าจ้างครูที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะ ประเภท/อัตราเงินบำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ
(4) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ไม่เกินปีละ 3,900.- หมายเหตุต้องเป็นค่าใช้จ่ายที่สถานศึกษาได้รับอนุญาตจากหน่วยงานเจ้าสังกัดให้เรียกเก็บ ทั้งนี้ ไม่รวมค่าปรับต่างๆ ค่าลงทะเบียนล่าช้า การลงทะเบียนซ้ำเพื่อปรับผลการเรียน ค่าประกันอุบัติเหตุ ค่าประกันของเสียหาย ค่าหอพัก ค่าซักรีด และค่ารักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ประเภท/อัตราเงินบำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ
(6) ระดับปริญญาตรีไม่เกินปีละ 20,000.- หมายเหตุต้องเป็นค่าใช้จ่ายที่สถานศึกษาได้รับอนุมัติให้เรียกเก็บตามระเบียบ ข้อบังคับ ของสถานศึกษานั้นๆ ทั้งนี้ ไม่รวมค่าปรับต่างๆ ค่าลงทะเบียนล่าช้า การลงทะเบียนซ้ำเพื่อปรับผลการเรียน ค่าประกันอุบัติเหตุ ค่าประกันของเสียหาย ค่าหอพัก ค่าซักรีด และค่ารักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ประเภท/อัตราเงินบำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ
สถานศึกษาเอกชนประเภทสามัญศึกษาสถานศึกษาเอกชนประเภทสามัญศึกษา ค่าธรรมเนียมการเรียนไม่เกินปีละ (1) ระดับอนุบาลหรือเทียบเท่า 10,856.- (2) ระดับประถมศึกษาหรือเทียบเท่า 10,556 .- (3) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า12,647.- (4) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า 12,947.- • หมายเหตุ ไม่รับเงินอุดหนุน
สถานศึกษาเอกชนประเภทสามัญศึกษาสถานศึกษาเอกชนประเภทสามัญศึกษา สถานศึกษาที่รับเงินอุดหนุน 1. อนุบาล หรือเทียบเท่า 3,874.- 2. ประถมศึกษาหรือเทียบเท่า 3,404.- 3. มัธยมต้น + หรือเทียบเท่า 2,635.- 4. มัธยมปลาย + หรือเทียบเท่า 2,605.-
สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษาสถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา 1. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า (ไม่รับเงินอุดหนุน) 1.1 ค่าธรรมเนียมการเรียนในประเภทวิชาหรือสาขาวิชา (1) คหกรรม หรือคหกรรมศาสตร์ ปีละไม่เกิน 13,217.- (2) พาณิชยกรรม หรือบริหารธุรกิจ ปีละไม่เกิน 15,877.- (3) ศิลปหัตถกรรม หรือศิลปกรรม ปีละไม่เกิน 15,967.- (4) เกษตรกรรม หรือเกษตรศาสตร์ ปีละไม่เกิน 16,887.- (5) ช่างอุตสาหกรรม/อุตสาหกรรม/สิ่งทอ ปีละไม่เกิน 19,487.- (6) ประมง ปีละไม่เกิน 16,887.- (7) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ปีละไม่เกิน 15,877.- (8) อุตสาหกรรมสิ่งทอ ปีละไม่เกิน 19,487.-