210 likes | 379 Views
โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ). KM Workshop สำหรับนิสิตฝึกสอนคณะศึกษาศาสตร์. วันศุกร์ที่ 26 มกราคม 2550 ณ ห้องสัมมนา 1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. โดย รศ.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย รองคณบดีฝ่ายวางแผนละพัฒนาคุณภาพ. นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
E N D
โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ) KM Workshopสำหรับนิสิตฝึกสอนคณะศึกษาศาสตร์ วันศุกร์ที่ 26 มกราคม 2550ณ ห้องสัมมนา 1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดย รศ.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย รองคณบดีฝ่ายวางแผนละพัฒนาคุณภาพ
นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ของคณะศึกษาศาสตร์ • ด้านวิชาการ (เก่ง) • ด้านคุณธรรมจริยธรรม (ดี) • ด้านทักษะ(มีความสามารถในการสอนอย่างมีความสุข)
การจัดการความรู้ • เน้นที่การปฏิบัติ (Practice) • แนบแน่นกับงานประจำ • ความสำคัญอยู่ที่ผู้ปฏิบัติงาน • การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ (Mean)
การจัดการความรู้ • ( Knowledge Management ) งาน การพัฒนาคน คือ เครื่องมือเพื่อบรรลุเป้าหมาย การพัฒนาองค์กร ความเป็นชุมชน
Tacit knowledge ความรู้ที่อยู่ในตัวคน ความรู้ Explicit knowledge ความรู้ที่อยู่ในตำรา Tacit : Explicit = 80 : 20
พูด เล่าออกมาจากใจ ทำให้เป็นธรรมชาติ ไม่ต้อง เสแสร้ง แกล้งทำให้ดูดี ถึงเรื่องราวความสำเร็จของนิสิต ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ • ฟัง อย่างตั้งใจ ไม่ต้องตอบโต้ ไม่ตัดสินประเด็นความ ไม่ตัดสินผู้อื่น เสร็จแล้วให้ช่วยกันตีความว่า ความสำเร็จ นั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร • สร้างบรรยากาศ เชิงบวก ชื่นชมยินดี เคารพความแตกต่าง สร้างความเป็นอิสระ ให้ความเท่าเทียม ไม่เอาเรื่องคุณวุฒิวัยวุฒิ หรือตำแหน่งมาขวางกั้น • จดบันทึก โดยย่อ เน้นวิธีปฏิบัติ ไม่เน้นทฤษฎี หลักและกติกาสำหรับ Storytelling (ลปรร.)
Deep Listening : ตั้งใจฟังโดยไม่ตัดสิน “การจัดการความรู้ กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์ สู่ศักยภาพ เสรีภาพ และความสุข” โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
รอบแรก ฝึก dialogue + deep listening แนะนำตัวเอง + หัวข้อเรื่องความภาคภูมิใจที่จะเล่า ( 1 นาที / คน) SS ชื่อ สถาบัน KSF NO. Knowledge Assets รอบสองStorytellingความสำเร็จ / ความภาคภูมิใจ“ความสำเร็จในการฝึกประสบการณ์”(5 นาที / คน ทดเวลา 5 นาที ซักถาม) จดบันทึก เน้นวิธีปฏิบัติ รวมกลุ่มจัดเป็นหมวดหมู่Card Technique Key Success Factors ภาพรวมของ Workshop เตรียมใจ (2 นาที) ผู้สังเกตการณ์ ประธาน 1 2 เลขาฯ 3 10 1.2.3. 9 4 ปฏิบัติ 8 5 ปฏิบัติ 7 6 ปฏิบัติ Core Competence 1 2 3 ............. 10 Success Story Mapping(ความสำเร็จในการฝึกประสบการณ์)ใช้ ICT เช่น KnowledgeVolution จัดทำ http://gotoknow.org/planet/nuqakm
Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) “คุณอำนวย” Knowledge Facilitator : KF “คุณเอื้อ” Chief Knowledge Officer : CKO Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs “คุณกิจ” Knowledge Vision ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” Knowledge Practitioner : KP Model “ปลาทู” KA KS KV
ต้องเป็นกลุ่มเล็กไม่เกิน 10 คน เพื่อให้มีความรู้สึกใกล้ชิด เป็นกันเอง ไม่เป็นทางการ สร้างความรู้สึกเป็นอิสระได้ง่าย ความรู้สึกแบบนี้เอื้อต่อการเล่าเรื่องอย่างมีพลัง ทำให้ความรู้ฝังลึก และซ่อนอยู่มิดชิดจนตัวเองก็ไม่รู้ว่าตนรู้ ถูกปลดปล่อยออกมาได้ง่ายขึ้นเมื่อถูกกระตุ้นด้วยบรรยากาศ • สมาชิกกลุ่มเป็น “ตัวจริง”ซึ่งหมายความว่า เป็นผู้ปฏิบัติงานเพื่อการบรรลุ “หัวปลา” ที่ตกลงกัน ด้วยตนเอง เรื่องเล่าความสำเร็จ(Storytelling) กลุ่มวิจัย กลุ่ม QA + ต่างคณะ
ดึงความรู้ที่อยู่ในคน (tacit K)ออกมา : คนละ 5 นาที เรื่องเล่าความสำเร็จ(Storytelling) มี คุณอำนวย ทำหน้าที่ดำเนินการ ประชุมและสรุปประเด็น เป็นระยะๆ มี คุณลิขิต บันทึกลงบน Flip Chart และสกัดประเด็นที่ได้จากเรื่องเล่าใน Card
Storytelling : tips ผู้เล่า เล่าเรื่องโดยไม่ตีความ เล่าให้เห็นตัวบุคคลที่เกี่ยวข้อง เห็นปัญหาอุปสรรคก่อนที่จะสำเร็จ เห็นอารมณ์ความรู้สึกว่าทำไมจึงตัดสินใจทำอย่างนั้น เห็นบรรยากาศการทำงานขณะนั้น เนี่ย ! ถ้าไม่ได้ชั้นนะเธอ เสร็จแน่ขอบอก..
Deep Listening : tips ผู้ฟัง ฟังอย่างตั้งใจ ไม่เสนอข้อแนะนำใดๆ เช่น ทำไมไม่ทำแบบ แบบนี้ เป็นต้น แต่ซักถามในลักษณะขอข้อมูลเพิ่มได้ เก่งจัง ทำได้ไงเนี่ย ?
KF, NT ประสานงานกลุ่ม KPช่วยกันจัดกลุ่มประเด็นที่เหมือน/คล้ายกัน (การ์ด) ไว้ด้วยกัน ติดบน Flip chart เพื่อจะได้ดูพร้อมๆ กัน สร้างขุมความรู้(Knowledge Assets) ประเด็นก็คือ ผู้บังคับบัญชา ไม่สนับสนุนใช่มั้ยคะ
สร้างขุมความรู้(Knowledge Assets) • การจับประเด็น ใช้ข้อความ หรือถ้อยคำ ที่สื่อถึงความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit K) หรือเป็นความรู้จากการปฏิบัติ ไม่ใช่ทฤษฎี • พยายามหลีกเลี่ยง ข้อความหรือถ้อยคำที่ท่านเคยอ่านมาแล้ว หรือใช้ในงานเขียนเชิงวิชาการ ที่ผ่านมา • ตรวจสอบ “ขุมความรู้” ของกลุ่มอีกครั้ง ว่าถ้อยคำที่ใช้นั้นสื่อถึงความรู้เชิงปฏิบัติเพียงใด
สังเคราะห์ขุมความรู้เป็นแก่นความรู้สังเคราะห์ขุมความรู้เป็นแก่นความรู้ (Core Competence) รวมตัวเป็นกลุ่มใหญ่
สังเคราะห์ขุมความรู้เป็นแก่นความรู้สังเคราะห์ขุมความรู้เป็นแก่นความรู้ (Core Competence) • แต่ละกลุ่มนำกระดาษการ์ดที่เขียนประเด็น “ขุมความรู้” มารวมกันทั้งหมด • ช่วยกันพิจารณาว่า มีประเด็นใดที่ซ้ำกันบ้าง? และมีประเด็นใดบ้างที่เข้าข่ายเป็นกลุ่ม หรือ ประเภทเดียวกัน • ช่วยกันจัดกลุ่มประเด็น “ขุมความรู้” ออกเป็นหมวดหมู่ ไม่น้อยเกินไป หรือไม่มากเกินไป (>6 หรือ <12 หมวด) • สร้างถ้อยคำหรือข้อความของหมวดหมู่ประเด็นขุมความรู้ที่ต้องการสื่อถึงในลักษณะ “ความสามารถ/สมรรถนะ” ที่ทำให้การฝึกสอนประสบผลสำเร็จ เป็นแก่นความรู้