1 / 18

หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร

หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร. ผศ. ดร. ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. Lecture 5: ขอบเขตเนื้อหา. การเพิ่มผลผลิต และการเติบโตการเพิ่มผลผลิต การวัดการเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีตัวเลขดัชนี

laasya
Download Presentation

หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักสูตรอบรมการวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตรหลักสูตรอบรมการวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร ผศ. ดร. ศุภวัจน์ รุ่งสุริยะวิบูลย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. Lecture 5: ขอบเขตเนื้อหา • การเพิ่มผลผลิต และการเติบโตการเพิ่มผลผลิต • การวัดการเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีตัวเลขดัชนี • ตัวเลขดัชนี Laspeyres, Paasche, Fisher, Tornqvist • การแยกค่าการเพิ่มผลผลิตด้วยวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม

  3. การวัดการเพิ่มผลผลิต • การเพิ่มผลผลิต (productivity) = ปริมาณผลผลิต (outputs) ปริมาณปัจจัยการผลิต (inputs) • ถ้ากระบวนการผลิตประกอบไปด้วยผลผลิตและปัจจัยการผลิตจำนวนมากกว่าหนึ่งชนิด การเพิ่มผลผลิตที่วัดได้ หมายถึง การเพิ่มผลผลิตของปัจจัยการผลิตรวม (total factor productivity, TFP)

  4. การเติบโตการเพิ่มผลผลิตของปัจจัยการผลิตรวมการเติบโตการเพิ่มผลผลิตของปัจจัยการผลิตรวม • ถ้ากระบวนการผลิตประกอบไปด้วยผลผลิตและปัจจัยการผลิตจำนวนหนึ่งชนิด การเติบโตการเพิ่มผลผลิตของปัจจัยการผลิตรวม (total factor productivity growth, TFPgrowth) ระหว่างช่วงเวลาที่ 1 และ 2 คือ • ตัวอย่าง สัปดาห์ที่ 1 นาย ก ทำความสะอาดหน้าต่าง 10 บาน ภายใน 8 ชม สัปดาห์ที่ 2 นาย ก ทำความสะอาดหน้าต่าง 20 บาน ภายใน 12 ชม TFP เพิ่มขึ้น = 1.66-1.25 = 0.41 TFP growth เพิ่มขึ้นเท่ากับ 33%

  5. การวัดการเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีตัวเลขดัชนีการวัดการเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีตัวเลขดัชนี • ในระยะเริ่มต้น การเพิ่มผลผลิตวัดโดยการใช้วิธี ตัวเลขดัชนี (index number) TFP index = Output index Input index • ตัวเลขดัชนีที่นิยมใช้ได้แก่ 1. Laspeyres 2. Paasche 3. Fisher 4. Tornqvist • ตัวเลขดัชนีทั้ง 4 แตกต่างกันตรงการให้คำนิยามเกี่ยวกับค่าน้ำหนักที่กำหนด และระยะเวลาที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณ • กำหนดผลผลิตจำนวน N ชนิด และระยะเวลาที่ใช้ คือ s และ t pis และ qis คือ ราคาและปริมาณสินค้าของผลผลิตที่ i ณ เวลา s pit และ qit คือ ราคาและปริมาณสินค้าของผลผลิตที่ i ณ เวลา t

  6. ตัวเลขดัชนีราคา Laspeyres • กำหนดระยะเวลา s เป็นฐานในการคำนวณหาค่าน้ำหนัก • ตัวเลขดัชนีราคา Laspeyres หาได้จากความสัมพันธ์ • ตัวอย่าง

  7. ตัวเลขดัชนีราคา Paasche • กำหนดระยะเวลา t เป็นฐานในการคำนวณหาค่าน้ำหนัก • ตัวเลขดัชนีราคา Paasche หาได้จากความสัมพันธ์ • ตัวอย่าง

  8. ตัวเลขดัชนีราคา Fisher • ตัวเลขดัชนีราคา Fisherหาได้จากความสัมพันธ์ • จากตัวอย่างที่ผ่านมา

  9. ตัวเลขดัชนีราคา Tornqvist • ตัวเลขดัชนีราคา Tornqvistหาได้จากความสัมพันธ์ • จากตัวอย่างที่ผ่านมา

  10. ตัวเลขดัชนีปริมาณผลผลิตตัวเลขดัชนีปริมาณผลผลิต • ตัวเลขดัชนีปริมาณผลผลิตทั้ง 4 หาได้จากความสัมพันธ์

  11. ตัวเลขดัชนีปริมาณผลผลิตตัวเลขดัชนีปริมาณผลผลิต • จากตัวอย่างที่ผ่านมา

  12. ตัวอย่างการวัด TFP growth • จากตัวอย่างที่ผ่านมา • หา TFP growth โดยใช้ตัวเลขดัชนี Tornqvist ระหว่างช่วงเวลาที่ 1 และ 2 • TFP growth ลดลง 9.3% ระหว่างช่วงเวลาที่ 1 และ 2

  13. การวัดการเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีตัวเลขดัชนีการวัดการเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีตัวเลขดัชนี • ข้อดี 1. สามารถทำการคำนวณได้ง่าย โดยใช้ข้อมูลของราคาและปริมาณการผลิตที่เกิดขึ้นจริงในการคำนวณ 2. ต้องการข้อมูลทางด้านการผลิตอย่างน้อยเพียง 2 จุดเท่านั้นในการคำนวณ • ข้อเสีย ไม่สามารถหาองค์ประกอบต่างๆที่ส่งผลให้เกิดการเพิ่มผลผลิต • ต่อมาได้พัฒนาวิธีที่เรียกว่า การวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม (stochastic frontier analysis) ซึ่งเป็นการกำหนดฟังก์ชันที่นำมาใช้เพื่อเป็นตัวแทนของเทคโนโลยีการผลิตสำหรับกระบวนการผลิต • โดยอาศัยเทคนิคการหาค่าเหมาะสม (non-parametric technique) และเทคนิคการประเมินค่าตัวแปร (parametric technique)

  14. การแยกค่าการเติบโตการเพิ่มผลผลิตการแยกค่าการเติบโตการเพิ่มผลผลิต • พิจารณากระบวนการผลิตที่ประกอบไปด้วยเชตของผลผลิต M ชนิดและปัจจัยการผลิต K ชนิด ภายใต้สมมติฐานที่ว่าระยะที่ผลได้ต่อขนาดลดลง • หน่วยผลิตทำการผลิต (xt,yt) ที่เวลา t และผลิต (xt+1,yt+1) ที่เวลา t+1 • เทคโนโลยีการผลิตที่เวลา t ถูกแทนด้วย Stและที่เวลา t+1 ถูกแทนด้วย St+1

  15. การแยกค่าการเพิ่มผลผลิตวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่มการแยกค่าการเพิ่มผลผลิตวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม • พิจารณากระบวนการผลิตที่ประกอบไปด้วยผลผลิต 1 ชนิดและปัจจัยการผลิต K ชนิด ฟังก์ชันเส้นพรมแดนการผลิตที่มีรูปแบบ Translog สามารถแสดงได้ดังนี้ โดยที่ ynt, xntคือ ผลผลิตและปัจจัยการผลิตของหน่วยผลิตที่ n ที่เวลา t

  16. การแยกค่าการเพิ่มผลผลิตวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่มการแยกค่าการเพิ่มผลผลิตวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม • การเพิ่มผลผลิตประกอบไปด้วยองค์ประกอบต่างๆ ดังนี้ • ภายหลังจากที่ตัวแปรต่างๆที่อยู่ในเส้นพรมแดนการผลิตถูกประเมิน องค์ประกอบต่างๆของการเพิ่มผลผลิตสามารถคำนวณได้ดังนี้

  17. การแยกค่าการเพิ่มผลผลิตวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่มการแยกค่าการเพิ่มผลผลิตวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม • พิจารณากระบวนการผลิตที่ประกอบไปด้วยผลผลิต M ชนิดและปัจจัยการผลิต K ชนิด ฟังก์ชันระยะทางปัจจัยการผลิตที่มีรูปแบบ Translog สามารถแสดงได้ดังนี้ • จากคุณสมบัติการเป็นฟังก์ชันเอกพันธ์ลำดับที่ 1 ในปัจจัยการผลิต จะได้ • ฟังก์ชันระยะทางผลผลิตสามารถเขียนใหม่ได้เป็น

  18. การแยกค่าการเพิ่มผลผลิตวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่มการแยกค่าการเพิ่มผลผลิตวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม • กำหนด -dnti = vnt-unt ทำให้สามารถประเมินค่าตัวแปรต่างๆโดยวิธีวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม • ภายหลังจากที่ตัวแปรต่างๆที่อยู่ในเส้นพรมแดนการผลิตถูกประเมิน องค์ประกอบต่างๆของการเพิ่มผลผลิตสามารถคำนวณได้ดังนี้

More Related