1.17k likes | 2.22k Views
การจัดการกำลังพล. ว่าที่ น.ท.จิรวัฒน์ เลี่ยมทอง หน.จัดการกำลังพล กกพ.กพ.ทร. ประวัติ. มัธยมศึกษาปีที่ ๔ รร.ปานะพันธุ์วิทยา โรงเรียนเตรียมทหาร (นตท.รุ่นที่ ๓๒) โรงเรียนนายเรือ (นายเรือรุ่นที่ ๘๙) หลักสูตรนายทหารสื่อสาร หลักสูตรยกพลขึ้นบกสัญญาบัตร หลักสูตร รร.นว.สรส. (รุ่นที่ ๔๕)
E N D
การจัดการกำลังพล ว่าที่ น.ท.จิรวัฒน์ เลี่ยมทอง หน.จัดการกำลังพล กกพ.กพ.ทร.
ประวัติ • มัธยมศึกษาปีที่ ๔ รร.ปานะพันธุ์วิทยา • โรงเรียนเตรียมทหาร (นตท.รุ่นที่ ๓๒) • โรงเรียนนายเรือ (นายเรือรุ่นที่ ๘๙) • หลักสูตรนายทหารสื่อสาร • หลักสูตรยกพลขึ้นบกสัญญาบัตร • หลักสูตร รร.นว.สรส. (รุ่นที่ ๔๕) • หลักสูตร รร.สธ.ทร. (รุ่นที่ ๖๖)
กยพ.กร. • ต้นหน ร.ล.ลันตา กยพ.กร. • ต้นหน และ นายทหารการอาวุธ ร.ล.สีชัง กยพ.กร. • ต้นเรือ ร.ล.ปราบ กยพ.กร. • ต้นเรือ ร.ล.พงัน กยพ.กร. • นายธง ผบ.กยพ.กร. และ รรก.นายทหารสื่อสาร บก.กยพ.กร. • ผบ.ร.ล.สัตกูด กยพ.กร. กพ.ทร. • ประจำแผนกจัดการกำลังพล กกพ.กพ.ทร. • หน.จัดการกำลังพล กกพ.กพ.ทร.
การจัดการกำลังพล เป็นขั้นตอนภายหลังจากการจัดหากำลังพล หมายรวมถึง การบรรจุ เข้ารับราชการ การเลื่อนตำแหน่งฐานะ การย้ายตำแหน่งและการโอน รวมทั้งการให้ออกจากราชการ ทั้งนี้การบริหารกำลังพล ให้เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพนั้น จำเป็นจะต้องมีการย้าย สับเปลี่ยนหน้าที่ ของกำลังพลประเภทต่าง ๆ เพื่อให้มีประสบการณ์ และความรับ ผิดชอบที่สูงขึ้นตามลำดับ โดยจะต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับ ความรู้ ความสามารถ และปัจจัยแวดล้อมอื่น ๆ
นนร./นรจ./นดย. บุคคลพลเรือน ทหารกองประจำการ ลูกจ้าง พ้นจากงาน ราชการ สรรหา พัฒนา รักษาไว้ ใช้ประโยชน์ เกษียณ / ตาย ลาออก / โอน ปลด
การจัดการกำลังพล • การบรรจุบุคคลพลเรือนเข้ารับราชการ • การย้ายบรรจุข้าราชการ • การเปลี่ยนพรรค-เหล่า • ประจำหน่วยและสำรองราชการ • การโอน • การลาออก • งานที่รับผิดชอบในแผนก
การบรรจุบุคคลพลเรือนเข้ารับราชการการบรรจุบุคคลพลเรือนเข้ารับราชการ
คุณสมบัติของบุคคลที่จะบรรจุเข้ารับราชการคุณสมบัติของบุคคลที่จะบรรจุเข้ารับราชการ ๑. มีอายุไม่ต่ำกว่า ๑๘ ปีบริบูรณ์ นับถึงวันบรรจุเข้ารับราชการ ๒. มีอายุไม่เกิน ๓๕ ปีบริบูรณ์ ในวันสมัครเข้ารับราชการ สำหรับข้าราชการชั้นสัญญาบัตร ๓. มีอายุไม่เกิน ๓๐ ปีบริบูรณ์ ในวันสมัครเข้ารับราชการ สำหรับข้าราชการต่ำกว่าชั้นสัญญาบัตร ๔. มีคุณวุฒิตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงซึ่งออกตามความในกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบข้าราชการทหาร ๕. มีสัญชาติไทย
๖. เป็นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ๗. ไม่เป็นผู้ที่มีร่างกายพิการ ทุพพลภาพ หรือมีโรค ซึ่งไม่สามารถจะรับราชการทหารได้ตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง ซึ่งออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการรับ ราชการทหาร ๘. ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดี ๙. ไม่เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว หรือเป็นบุคคลล้มละลาย ตามคำพิพากษาของศาล ๑๐. ไม่เป็นผู้ที่ออกจากราชการจากส่วนราชการใด ๆ ตั้งแต่ ๒ ครั้งขึ้นไป
๑๑. ไม่เป็นผู้ที่เคยถูกให้ออกจากราชการ เพราะมีความผิด หรือมีมลทิน หรือมัวหมอง ๑๒. ไม่เป็นผู้ที่อยู่ในระหว่างพักราชการ ๑๓. ไม่เป็นผู้ที่เคยต้องโทษจำคุกตามคำพิพากษาของศาล ในคดีอาญายกเว้นความผิดฐานประมาทหรือลหุโทษ
หลักฐานประกอบการบรรจุเข้ารับราชการหลักฐานประกอบการบรรจุเข้ารับราชการ ๑. ใบสมัครเข้ารับราชการ ๒. สัญญาเข้ารับราชการ ๓. สัญญาค้ำประกัน (ผู้ค้ำประกันเป็นข้าราชการระดับ ๓ ขึ้นไป/หรือนายทหารสัญญาบัตร) ๓.๑ ในกรณีที่ผู้ค้ำประกันมีคู่สมรส จะต้องทำหนังสือยินยอมจากคู่สมรสด้วย ๓.๒ ในกรณีที่ผู้ค้ำประกันเป็นโสด จะต้องมีหนังสือรับรองความเป็นโสดจาก หน่วยต้นสังกัด ๔. สำเนาบัตรประจำตัวของตนเอง ผู้ค้ำประกัน คู่สมรสของผู้ค้ำประกัน
๕. สำเนาทะเบียนบ้านของตนเอง บิดา มารดา และ สำเนาทะเบียนบ้านของผู้ค้ำประกัน ๖. หลักฐานการศึกษา ๖.๑ สำเนาปริญญาบัตร หรือสำเนาใบรับรองจากมหาวิทยาลัย ซึ่งสภามหาวิทยาลัยอนุมัติปริญญาแล้ว และสำเนา TRANSCRIPT สำหรับข้าราชการชั้นสัญญาบัตร ๖.๒ สำเนาระเบียนผลการศึกษา สำหรับข้าราชการ ต่ำกว่าชั้นสัญญาบัตร ๗. อากรแสตมป์ ๓๐ บาท สำหรับข้าราชการชั้นสัญญาบัตร ๘. อากรแสตมป์ ๒๐ บาท สำหรับข้าราชการต่ำกว่า ชั้นสัญญาบัตร
๙. รูปถ่ายขนาด ๒ ๑/๒ นิ้ว ๑ รูป ๑๐. ผลการตรวจสอบประวัติ และพฤติการณ์ส่วนบุคคล ๑๑. ผลการตรวจสุขภาพ ๑๒. ผลการตรวจสอบประวัติอาชญากรรมจาก กองทะเบียนประวัติอาชญากร กรมตำรวจ ๑๓. ผลการตรวจสอบคุณวุฒิ
หลักเกณฑ์การบรรจุทหารหญิงของหน่วยหลักเกณฑ์การบรรจุทหารหญิงของหน่วย ๑. นายทหารสัญญาบัตรหญิง (ร้อยละของอัตราที่มี) ๑.๑ เหล่า พธ. ดย. ยย. บรรจุได้ไม่เกินร้อยละ ๒๕ ๑.๒ เหล่า สบ. วศ. กง. บรรจุได้ไม่เกินร้อยละ ๓๐ ๑.๓ เหล่า พ. บรรจุได้ไม่เกินร้อยละ ๔๐ ๑.๔ ตำแหน่งอาจารย์ บรรจุได้ไม่จำกัดจำนวน โดยแยกออกจากร้อยละของเหล่า สบ. ๒. นายทหารประทวนหญิง (ร้อยละของอัตราที่มี) ๒.๑ ทุกพรรค - เหล่า บรรจุได้ไม่เกินร้อยละ ๒๕ ๒.๒ พยาบาลบรรจุได้ตามอัตราที่กำหนด
ทร. กพ.ทร.ดำเนินการ ๑. รวบรวมหลักฐาน ๒. ตรวจสอบคุณสมบัติ คุณวุฒิการศึกษา , ประวัติอาชญากร , สด.(๘, ๙ , ๔๓) ถ้ามี , รปภ.๑ , สุขภาพ ๓. ร้อยละการบรรจุ แต่ละพรรค-เหล่า (หญิง) บก.ทหารสูงสุด (กพ.ทหาร) สป. (กรมเสมียนตรา ฯ ) รมว.กห. ออกคำสั่ง
การย้ายบรรจุข้าราชการการย้ายบรรจุข้าราชการ
การย้ายบรรจุข้าราชการการย้ายบรรจุข้าราชการ • แนวทางรับราชการ • แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ • การเสนอขอย้ายบรรจุ
นโยบาย ทร. กับแนวทางรับราชการ ให้มีการย้ายหมุนเวียนนายทหารสัญญาบัตร โดยให้ ดำรงตำแหน่งเดียวติดต่อกันได้ไม่เกิน ๓ ปี และปฏิบัติงานในหน่วยเดียว (หน่วยระดับ นขต.ทร. หรือหน่วยรองของ นขต.ทร. ในระดับกรม) ติดต่อกันได้ ไม่เกิน ๖ ปี เพื่อให้มีประสบการณ์ในหน่วยงานต่าง ๆ ให้มากที่สุด
นายทหารสัญญาบัตรจบจาก รร.นร. • หลักสูตรการศึกษาของ นนร. ปัจจุบันปรับเปลี่ยนระยะเวลาศึกษาเป็น ๔ ปี (ของเดิม ๕ ปี) • บรรจุครั้งแรกเป็น ประจำ รร.นร. • เข้ารับการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิทยาการทหารเรือ (ป.บัณฑิต) กำหนดเวลาศึกษา ๑ ปี • สำเร็จการศึกษาแล้วจะบรรจุเข้ารับราชการตามหน่วยต่าง ๆ • ผู้สำเร็จการศึกษาจากรร.นร.หรือ รร.ทหารจากต่างประเทศ บรรจุเป็นประจำ รร.นร. เพื่อปฏิบัติราชการที่ รร.นร. ๑ ปี
นายทหารสัญญาบัตรจบจาก รร.นร. พรรคนาวิน • บรรจุเป็นประจำ กร. เพื่อไปช่วยปฏิบัติราชการตามโรงเรียนต่าง ๆ และ สอ.รฝ. กำหนด ๑ ปี • ชั้นยศ ร.ท.-ร.อ. (ก่อนเข้าศึกษา รร.นว.สรส.) บรรจุ ใน กร. และหน่วยกำลังรบ • ชั้นยศ ร.อ. (หลังจบการศึกษา) เป็นต้นไป หมุนเวียนตามหน่วยต่าง ๆ ตำแหน่งเดียวกันไม่เกิน ๓ ปี หน่วยเดียวกันไม่เกิน ๖ ปี
นายทหารสัญญาบัตรจบจาก รร.นร. พรรคกลิน • บรรจุเป็นประจำ กร. (นายทหารใหม่พรรคกลิน ๑ เดือน) • ชั้นยศ ร.ท.-ร.อ. (ก่อนเข้าศึกษา รร.กล.สรส.) บรรจุ ใน กร. เพื่อปฏิบัติงานในเรือ • ชั้นยศ ร.อ. (หลังจบการศึกษา) เป็นต้นไป หมุนเวียนตามหน่วยต่าง ๆ ตำแหน่งเดียวกันไม่เกิน ๓ ปี หน่วยเดียวกัน ไม่เกิน ๖ ปี
นายทหารสัญญาบัตรจบจาก รร.นร. พรรคนาวิกโยธินและพรรคนาวิน (พธ.) • บรรจุเป็นประจำ นย. /ประจำ พธ.ทร. • ชั้นยศ ร.ต. – ร.ท. บรรจุใน นย. /พธ.ทร. • ชั้นยศ ร.ท. เป็นต้นไป หมุนเวียนตามหน่วยต่าง ๆ ตำแหน่งเดียวกันไม่เกิน ๓ ปี หน่วยเดียวกันไม่เกิน ๖ ปี
นายทหารสัญญาบัตรจบจาก รร.นร. พรรคนาวิน (อศ.) • บรรจุในตำแหน่งอัตรา อศ. และหมุนเวียนในหน่วย • อาจมีการหมุนเวียนตามหน่วยต่าง ๆ ที่มีอัตราที่มี สายวิทยาการ อศ. ตามความเหมาะสม
นายทหารสัญญาบัตรจบจาก รร.นร. นักบิน (ทุกพรรค) • ชั้นยศ ร.ต. – น.ต. บรรจุในตำแหน่งนักบิน • ชั้นยศ น.ท. ขึ้นไป จึงหมุนเวียนตามนโยบาย ทร.
นายทหารสัญญาบัตรที่สำเร็จการศึกษาจากมหาวิยาลัยนายทหารสัญญาบัตรที่สำเร็จการศึกษาจากมหาวิยาลัย • ให้หมุนเวียนตามนโยบาย ทร. (ตามสายวิทยาการ แต่ละเหล่า) • เว้นสายวิทยาการต้องใช้คุณวุฒิพิเศษที่เป็นเทคนิค เฉพาะ เช่นแพทย์ พยาบาล เป็นต้น
นายทหารประทวน กำเนิดจาก นรจ. • ประจำ กพ.ทร. ๑ รร.ชุมพล ฯ บรรจุในตำแหน่งอัตรา กร. ๒ รร.นย.ศฝ.นย. ๕. ตำรวจน้ำฝากเรียน ๓ รร.สส.สส.ทร. ๔ นรจ.ที่ นขต.ทร.ฝากเรียน ซึ่งบรรจุในพื้นที่สัตหีบ
นายทหารประทวน กำเนิดจาก นรจ. • ประจำ ฐท.สส. ๑ รร.พธ.พธ.ทร. ๕ รร.ดย.ดย.ทร.ฐท.กท. ๒ รร.ฟอ.กศษ.กพช.อร. ๓ รร.พบ.กศษ.พร. ๔ นรจ.ที่ นขต.ทร.ฝากเรียน ซึ่งบรรจุในพื้นที่กทม. และ สมุทรปราการ
นายทหารประทวน • กำเนิดจากบุคคลพลเรือน บรรจุตามตำแหน่งที่ใช้ความรู้ • กำเนิดจากทหารกองประจำการ บรรจุ พรรค-เหล่าเดิม • การย้ายบรรจุนายทหารประทวนเป็นการย้ายตรงตาม พรรค-เหล่าและสายวิทยาการ • กรณีไม่ตรงเป็นการเปลี่ยนพรรค-เหล่า และแต่งตั้งคณะกรรมการทดสอบความรู้ไม่ต่ำกว่า ๓ นาย
นายทหารสัญญาบัตรที่เลื่อนฐานะจากนายทหารประทวนนายทหารสัญญาบัตรที่เลื่อนฐานะจากนายทหารประทวน • ชั้นยศ ร.ต. – น.ท. การหมุนเวียนเป็นตามความเหมาะสม ประสบการณ์ ความรู้ และความชำนาญ (สอบเป็น น.ต. และ น.ท.) • การสอบเลื่อนยศเป็น น.อ. เป็นการสอบกลั่นกรองผู้ที่มีความเหมาะสมที่จะเลื่อนยศสูงขึ้นเท่านั้น
การย้ายนายทหารสัญญาบัตรอัตรา น.อ.-น.อ.พิเศษ การพิจารณาย้ายบรรจุนายทหารสัญญาบัตรเพื่อลงในตำแหน่งอัตรา น.อ. - น.อ.พิเศษ (รวมถึงผู้ที่เป็น น.ท. จะเลื่อนยศเป็น น.อ.หรือบรรจุเพื่อ รรก. อัตรา น.อ.) จะเป็นการพิจารณาของ คยปอ.ทร. เท่านั้น
คยปอ.ทร. “ คณะกรรมการพิจารณาการย้ายเปิดตำแหน่งและพิจารณาองค์บุคคลให้ขึ้นครองอัตรา น.อ.พิเศษ อัตรา น.อ. และพิจารณาเตรียมองค์บุคคลระดับ น.ท. ขึ้นไป ไว้สำหรับเป็นผู้นำกองทัพเรือในอนาคต ” เสธ.ทร. เป็น ประธาน ผอ.กกพ.กพ.ทร. เป็น เลขานุการ หน.จัดการกำลังพล กกพ.กพ.ทร. เป็น ผช.เลขานุการ
แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุแนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ
แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุแนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ • กพ.ทร.พิจารณาดำเนินการย้ายบรรจุข้าราชการ จ.ต. – น.อ. (พิเศษ) • ปัจจุบันนำระบบ HRMISS (Human Resources Management Information Supporting System)มาใช้ในการกระบวนการย้ายบรรจุข้าราชการ http://hrmiss.navy.mi.th
แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุแนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ อำนาจการย้ายบรรจุ นายทหารสัญญาบัตร ๑. กรณีย้ายในตำแหน่งอัตราไม่เกิน ร.อ. ซึ่งไม่เปลี่ยน สายวิทยาการและพรรคเหล่า อยู่ในอำนาจของ หน.นขต.ทร. ๒. นอกจากนี้เสนอ กพ.ทร. พิจารณาเพื่อเสนอเป็นคำสั่ง ทร. เท่านั้น (ประจำหน่วย , ข้าม นขต.ทร.) ๓. ทรภ.๒ และ ทรภ.๓ สามารถดำเนินการตามข้อ ๑ ได้ โดยอำนาจอยู่ที่ ผบ.ทรภ.๒ และ ผบ.ทรภ.๓
แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุแนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ นายทหารประทวน ๑ หน.นขต.ทร. • ประจำหน่วยลงอัตราหน่วย • ย้ายภายในหน่วย ไม่ผิดสายวิทยาการและพรรค-เหล่า • พ.จ.อ.ลงอัตรา พ.จ.อ.พิเศษ เมื่อ ทร. อนุมัติ หลักการแล้ว
แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุแนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ ๒ จก.กพ.ทร. ย้ายข้ามหน่วย ตรงพรรค - เหล่า และไม่ผิดสายวิทยาการ ๓ ผช.เสธ.ทร.ฝกพ. ย้ายสังกัด เปลี่ยนพรรค - เหล่า และสายวิทยาการ ปีละ 4 ครั้ง ม.ค. เม.ย. ก.ค. และ ต.ค. ๔. รอง เสธ.ทร. ย้ายจากตำแหน่งเป็นประจำหน่วย
แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุแนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ การพิจารณาให้มีสิทธิเลื่อนยศสูงขึ้น • จำนวนปีครองยศ • ตำแหน่งอัตราบรรจุ • ระดับเงินเดือน • การลงทัณฑ์ • ลำดับอาวุโส วงรอบการพิจารณา วาระเม.ย. เดือน ม.ค.-มิ.ย. วาระต.ค. เดือน ก.ค.-ธ.ค.
จำนวนปีครองยศ (ตามอนุมัติ ทร. เมื่อ ๓ พ.ค.๔๗ เริ่มใช้ ๑ ต.ค.๔๗) น.อ.(พ) น.อ.(พ) น.อ.(พ) น.อ.(5) น.อ.(6)(7) น.อ.(5) น.ท.(5)(6) น.ท.(4) น.ท.(4) น.ต.(4) น.ต.(4) น.ต.(4) ร.อ.(4) ร.อ.(4) ร.อ.(4) ร.ท.(4) ร.ท.(3) ร.ท.(3) ร.ต.(3) ร.ต.(3) ร.ต.(2) นายทหาร ก. นายทหาร ป. นายทหาร ข.
แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุแนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ นายทหารสัญญาบัตรที่เกษียณอายุราชการ ก่อนเกษียณอายุในเดือน ต.ค. (ไม่เกิน ๑ ปี) หากมีคุณสมบัติครบถ้วนที่จะเลื่อนยศตามระเบียบ กห.ว่าด้วย การแต่งตั้งยศและการเลื่อนยศของข้าราชการทหาร พ.ศ.๒๕๔๑ และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม จะพิจารณาย้ายบรรจุลงตำแหน่งอัตราเพื่อให้ได้เลื่อนยศสูงขึ้น ๑ วัน และจะย้ายเป็นประจำหน่วย หรือตามที่หน่วยจะพิจารณาตำแหน่งบรรจุ
แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุแนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ การประเมินค่านายทหารสัญญาบัตร • ใช้ประกอบการพิจารณาย้ายบรรจุและการพิจารณาบำเหน็จ • ใช้ผลเฉลี่ย ๓ ครั้ง • ใช้สำหรับการย้ายบรรจุ (มากกว่า ๗๐ คะแนนขึ้นไป) ๑ ชั้นยศ น.ท.-น.อ. (ระดับ น.๕) ๒ ตำแหน่งหน่วยรบ ผบ.ร้อย ผบ.เรือชั้น ๓หรือเทียบเท่าขึ้นไป ๓ ตำแหน่ง ผบ.มว.บิน และ ผบ.หน่วยเฉพาะกิจ
แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุแนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ การบรรจุนายทหารสัญญาบัตรลงในอัตราไม่ตรงชั้นยศ ชั้นยศตั้งแต่ ร.ต. - ร.ท.บรรจุในตำแหน่งอัตราถึง ร.อ. ได้ โดยไม่ต้องเป็น รักษาราชการ (รรก.) ชั้นยศ ร.อ. บรรจุในตำแหน่งอัตรา น.ต. ได้ โดยไม่ต้องเป็น รรก. ยกเว้นนายทหารสัญญาบัตรที่เลื่อนฐานะมาจากนายทหารประทวน (นายทหาร ข.) ต้องเป็น รรก.ทุกกรณี (เนื่องจากต้องสอบเลื่อนยศ น.ต.)
แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุแนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ ชั้นยศ น.ต. - น.อ. บรรจุในตำแหน่งที่สูงกว่าต้องเป็น รรก. ทุกกรณี ยกเว้นผู้ที่มีคุณสมบัติได้รับการเลื่อนยศสูงขึ้น ตามหลักเกณฑ์ที่ ทร. กำหนด • นายทหารสัญญาบัตรชั้นยศที่ต่ำกว่าตำแหน่งอัตราที่จะบรรจุข้าม ๒ ชั้นยศ ให้เป็น รรก. ทุกกรณี • กรณีบรรจุต่ำว่าอัตราให้เป็นประจำหน่วยและ รรก.
แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุแนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ การย้ายบรรจุเพื่อเข้ารับการศึกษาตามแนวทางรับราชการ • หลักสูตร รร.นว.สรส. (นว.) รร.กล.สรส. และ รร.สธ.ทร. เป็นประจำ กพ.ทร. ทุกนาย • หลักสูตร รร.นว.สรส. (ทั่วไป และเพิ่มวิชา), และ รร.อส.สรส. เป็นประจำ กพ.ทร. เฉพาะผู้ที่มิได้บรรจุใน กทม. • หลักสูตร วทร. พรรค นว. และ กล. เป็นประจำ กร. , พรรค นย. เป็นประจำ นย. , พรรค พศ. เป็น ประจำ ฐท.สส.
แนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุแนวทางการพิจารณาย้ายบรรจุ การย้ายบรรจุเพื่อเข้ารับการศึกษาหลักสูตรอื่น ๆ • ตามโครงการศึกษาของ ทร. (กรณีเกิน ๖ เดือน)เป็นประจำ กพ.ทร. • ทุนส่วนตัวเวลาราชการ เป็นประจำหน่วย
การเสนอขอย้ายบรรจุ การจัดทำบัญชีการเสนอขอย้ายบรรจุ จัดทำบัญชีย้ายบรรจุนายทหารสัญญาบัตร แบ่งเป็น ๕ ชุด ชุดที่ ๑การย้ายบรรจุนายทหารสัญญาบัตรในตำแหน่ง อัตรา น.อ.พิเศษ น.อ. และชั้นยศ น.ท. ที่ รรก. อัตรา น.อ. รวมถึงนายทหารสัญญาบัตรชั้นยศ น.ท. ที่มีคุณสมบัติเลื่อนยศเป็น น.อ.