1 / 22

การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)

การบริหารความเสี่ยง (Risk Management). วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ผู้เรียน 1) เข้าใจความหมายของ ความเสี่ยง กระบวนการบริหารความเสี่ยง ระบบบริหารความเสี่ยง 2). คุ้นเคยกับความเสี่ยงประเภทต่างๆ และสามารถวิเคราะห์ความเสี่ยง ในหน่วยงานของตนเองได้

lala
Download Presentation

การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารความเสี่ยง(Risk Management) วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน 1) เข้าใจความหมายของ ความเสี่ยง กระบวนการบริหารความเสี่ยง ระบบบริหารความเสี่ยง 2). คุ้นเคยกับความเสี่ยงประเภทต่างๆ และสามารถวิเคราะห์ความเสี่ยง ในหน่วยงานของตนเองได้ 3) สามารถกำหนดแนวทางการป้องกันความเสี่ยงในหน่วยงานของตนได้ 4) ตระหนักในความสำคัญและมีเจตคติที่ดีต่อการรายงานอุบัติการณ์ 5) ทราบแนวทางการบริหารความเสี่ยงในระดับโรงพยาบาล และวิเคราะห์ ส่วนขาดในโรงพยาบาลของตนได้ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:01

  2. ความเสี่ยงคืออะไร • ความเสี่ยงคือโอกาสที่จะประสบกับ • การบาดเจ็บ/เสียหาย (harm) • เหตุร้าย (hazard) • อันตราย (danger) • ความไม่แน่นอน (uncertainty) • การ expose • ความสูญเสีย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:02

  3. ความเสี่ยงใน รพ. 7 ประการ • ผู้ป่วยและผู้รับผลงาน • ชื่อเสียง ความสัมพันธ์กับชุมชนและรัฐบาล • รายได้ • ทรัพย์สิน • ทรัพยากรบุคคล • ค่าเสียหาย • สิ่งแวดล้อม สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:03

  4. ประเภทของความเสี่ยงต่อผู้ป่วยประเภทของความเสี่ยงต่อผู้ป่วย • กายภาพ • อารมณ์ • ทำให้เสียหน้า, ขายหน้า, ทำร้ายจิตใจ, คุกคามด้วยสิ่งที่มองไม่เห็นหรือพยากรณ์ไม่ได้ • สังคม • ละเมิดสิทธิผู้ป่วย, exposure ต่อหน้าผู้อื่น, ไม่รักษาความลับ, ปัญหาเศรษฐกิจของผู้ป่วย • จิตวิญญาณ • กระทบความเชื่อ, ทำให้สูญเสียความมั่นใจ Tony Wagemaker สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:04

  5. กระบวนการบริหารความเสี่ยงกระบวนการบริหารความเสี่ยง ค้นหาความเสี่ยง -ศึกษาจากอดีต -สำรวจในปัจจุบัน -เฝ้าระวังไปข้างหน้า ควบคุมความเสี่ยง -หลีกเลี่ยง -ป้องกัน -ถ่ายโอน -แบ่งแยก -ลดความสูญเสีย การจ่ายเงินชดเชย ประเมินความเสี่ยง ประเมินผลระบบ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:05

  6. ระบบบริหารความเสี่ยง • การประสานเชื่อมโยงองค์ประกอบทั้งหมดเข้าด้วยกัน การบริหารความเสี่ยงในหน่วยงาน โปรแกรมที่เกี่ยวข้องต่างๆ • ผล 1) แสดงการยอมรับบทบาทของโปรแกรมที่มีอยู่เดิมและบทบาทของหัวหน้าหน่วยงานต่างๆ 2) เป็นหลักประกันว่าหัวหน้าหน่วยงานจะเป็นผู้จัดการกับความเสี่ยงในโอกาสแรก 3) ส่งเสริมการสื่อสารระหว่างโปรแกรมและหัวหน้าหน่วยงานต่างๆ 4) ทุกคนเป็นผู้จัดการความเสี่ยง จะต้องเสริมพลังให้ทุกคนสามารถจัดการกับความเสี่ยงได้ 5) ไม่เพิ่มค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:06

  7. โปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง • การประกัน/พัฒนาคุณภาพ • การรักษาความปลอดภัย • อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน • การควบคุม/เฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล • การรับคำร้องเรียนจากผู้ป่วย • การรายงานเหตุการณ์/อุบัติการณ์ • การป้องกันอัคคีภัย/อุบัติภัย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:07

  8. 2 การบริหารความเสี่ยงกับ QA/CQI QA/CQI RM Keep out of trouble Strive for improvement คุ้มครองผู้ป่วย ปรับปรุงการดูแลผู้ป่วย ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ คุ้มครองทรัพยากรของ รพ. (ทรัพย์สิน, สถานะและความ สัมพันธ์กับชุมชน) เป้าหมาย ประเมินการ expose ต่อความเสี่ยง เพื่อป้องกันการสูญเสียของทุกคน ประเมินประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพของการดูแลผู้ป่วย ของเขต จุดเน้น กลุ่มผู้ป่วยซึ่งมีลักษณะคล้ายกัน เหตุการณ์เพียงครั้งเดียวซึ่งอาจ ก่อให้เกิดความสูญเสียที่สำคัญ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:08

  9. RM QA/ CQI -รักษามาตรฐาน และยกระดับคุณภาพ การดูแลผู้ป่วย -การป้องกันปัญหาและ ควบคุมความสูญเสีย ในการดูแลรักษาผู้ป้วย -เจ้าหน้าที่บาดเจ็บจากการปฏิบัติงาน -ทรัพย์สินสูญหาย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:09

  10. การบริหารความเสี่ยงในระดับหน่วยงานการบริหารความเสี่ยงในระดับหน่วยงาน สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:10

  11. การค้นหาความเสี่ยง • บันทึกข้อมูลที่มีอยู่แล้ว • ประสบการณ์ของสมาชิกในหน่วยงาน • เรียนรู้จากประสบการณ์ของคนอื่น • สำรวจสิ่งแวดล้อม การเคลื่อนไหว ปฏิสัมพันธ์ • เรียนรู้ระหว่างทำงาน (รายงานอุบัติการณ์) สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:11

  12. บันทึกที่มีอยู่แล้ว • บันทึกการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน • รายงานการตรวจสอบเพื่อป้องกันอัคคีภัย • รายงานยาเสพติด • บันทึกการควบคุมคุณภาพของห้องปฏิบัติการ • รายงานการควบคุมคุณภาพของอาหาร • รายงานด้านอาชีวอนามัย • รายงานการตรวจสอบความปลอดภัยในการทำงาน • รายงานการตรวจสอบความปลอดภัยด้านรังสีวิทยา • รายงานอุบัติการณ์ • รายงานการติดเชื้อในโรงพยาบาล • บันทึกประจำวันของหน่วยงาน • รายงานเวรตรวจการ • รายงานของหน่วยรักษาความปลอดภัย สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:12

  13. คำถามเพื่อค้นหาความเสี่ยงคำถามเพื่อค้นหาความเสี่ยง • ที่แผนกของท่าน อะไรคือสิ่งเลวร้ายที่สุดที่อาจเกิดขึ้นได้ • ในประสบการณ์ของท่าน มีเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์อะไรเกิดขึ้น มีความรุนแรงสูง มีความถี่สูง • ในช่วงเวลาหรือสถานการณ์ใดที่ทำให้การทำงานของท่านมีความเสี่ยงสูง • มีปัญหาอะไรที่ท่านต้องแก้ไขในกิจกรรม QA/อาชีวอนามัยและความปลอดภัย • วารสารในวิชาชีพของท่านพูดถึงความเสี่ยงพิเศษอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:13

  14. ตัวอย่างรายงานอุบัติการณ์ตัวอย่างรายงานอุบัติการณ์ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:14

  15. รายงานอุบัติการณ์ • รายงานอุบัติการณ์ • เป็นการระบุเหตุการณ์ทั้งหมดซึ่งไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการดูแลผู้ป่วยตามปกติ • เป็นการระบุปัญหาและผลที่ตามมา • ไม่แทรกความคิดเห็น • ไม่ได้เป็นการตำหนิหรือกล่าวโทษเพื่อนร่วมงาน • ไม่ได้เป็นการยอมรับว่าละเลย • นำไปสู่การตั้งคำถามต่อวิธีปฏิบัติที่ข้องใจ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:15

  16. ประเด็นอภิปราย • แบบบันทึกนี้มีลักษณะพิเศษอย่างไร • มีเหตุการณ์สำคัญ/อุบัติการณ์ใดบ้าง ที่อาจจะก่อให้เกิดความรู้สึกว่ามีการจับผิด และไม่ควรกำหนดไว้ในแบบบันทึก • ควรมีการปรับปรุงแบบบันทึกนี้อย่างไร • ใครควรจะมีหน้าที่บันทึก • ทำอย่างไรผู้เกี่ยวข้องจึงจะมีเจตคติที่ดีต่อการใช้แบบบันทึกนี้ และมีการบันทึกรายงานนี้ทุกครั้งเมื่อมีเหตุการณ์สำคัญ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:16

  17. บัญชีรายการความเสี่ยง (Rifk Profile) ของหน่วยรังสีวิทยา สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:17

  18. ตารางวิเคราะห์ความเสี่ยงตารางวิเคราะห์ความเสี่ยง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:18

  19. ความเสี่ยงและมาตรการควบคุมของแผนกรังสีวิทยาความเสี่ยงและมาตรการควบคุมของแผนกรังสีวิทยา สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:19

  20. มาตรการป้องกันและควบคุมความเสี่ยงมาตรการป้องกันและควบคุมความเสี่ยง • มาตรการป้องกัน • จะเตรียมคน อุปกรณ์ เครื่องมือ ข้อมูลข่าวสารให้พร้อมเพื่อป้องกันความเสี่ยงอย่างไร • วิธีปฏิบัติงานที่รัดกุมควรเป็นอย่างไร • จะควบคุมกระบวนการทำงานเพื่อป้องกันความเสี่ยงอย่างไร มีการตรวจสอบที่จุดใด • แนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดปัญหา • จะตรวจพบปัญหาให้เร็วที่สุดได้อย่างไร ใครเป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบ • เมื่อพบปัญหาแล้วจะต้องดำเนินการอย่างไรเพื่อลดความเสียหายให้เหลือน้อยที่สุด ใครเป็นผู้รับผิดชอบ • ควรรายงานสถานการณ์ให้ผู้บริหารทราบขึ้นไปถึงระดับใด สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:20

  21. ระบบบริหารความเสี่ยงในระดับ รพ. • หน้าที่ของผู้บริหาร • ระบบรายงาน • แผนบริหารความเสี่ยง ขอให้ผู้เรียนประเมินระบบบริหารความเสี่ยง ในโรงพยาบาลของตนเอง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:21

  22. มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง • ENV.1 โรงพยาบาลมีโครงสร้างกายภาพและสิ่งแวดล้อม ที่เป็นหลักประกันว่าผู้ป่วยจะได้รับการดูแลรักษาอย่างได้ผล มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย สะดวกสบาย และเป็นที่พึงพอใจ • ENV.4 มีการจัดการเพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ใช้บริการและเจ้าหน้าที่ • GEN.9 มีกิจกรรมติดตามประเมินและพัฒนาคุณภาพของหน่วยงานหรือบริการ โดยการทำงานเป็นทีม และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:22

More Related