1 / 27

สถานการณ์โคเนื้อและกระบือ

สถานการณ์โคเนื้อและกระบือ. กลุ่มวิจัยและพัฒนาระบบฟาร์มปศุสัตว์. สถานการณ์โคเนื้อปัจจุบัน. สถิติจำนวนโคเนื้อในประเทศไทย ปี 2546 - 2550. ที่มา : ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์. สถิติจำนวนโคเนื้อ แยกเป็นรายภาค ในปี 2550. ที่มา : ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์. ด้านการผลิตเนื้อโค.

lamond
Download Presentation

สถานการณ์โคเนื้อและกระบือ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานการณ์โคเนื้อและกระบือสถานการณ์โคเนื้อและกระบือ กลุ่มวิจัยและพัฒนาระบบฟาร์มปศุสัตว์

  2. สถานการณ์โคเนื้อปัจจุบันสถานการณ์โคเนื้อปัจจุบัน

  3. สถิติจำนวนโคเนื้อในประเทศไทย ปี 2546 - 2550 ที่มา : ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์

  4. สถิติจำนวนโคเนื้อ แยกเป็นรายภาค ในปี 2550 ที่มา : ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์

  5. ด้านการผลิตเนื้อโค 1. เกษตรกรผู้เลี้ยงโค 1.37 ล้านครอบครัว 2. จำนวนโค 8.84 ล้านตัว - เป็นพันธุ์พื้นเมือง 5.30 ล้านตัว (60%) - เป็นพันธุ์ลูกผสม 3.54 ล้านตัว (40%) 2.1 เพศผู้ 2. 38 ล้านตัว (27%) 2.2 เพศเมีย 6.46 ล้านตัว (73%) - วัยเจริญพันธุ์ 3.54 ล้านตัว (40%) - ผลิตลูกได้ 1.95 ล้านตัว/ปี (55%)

  6. พันธุ์โคเนื้อที่กรมปศุสัตว์ส่งเสริมพันธุ์โคเนื้อที่กรมปศุสัตว์ส่งเสริม

  7. 1. ระบบการเลี้ยงโคเชิงธุรกิจ • เกษตรกร 38,135 ราย (2.0%) • โคเนื้อ 1.55 ล้านตัว (17.5%)

  8. 2. ระบบการเลี้ยงโคแบบปล่อยตามทุ่งหญ้าธรรมชาติ • เกษตรกร 1.34 ล้านครอบครัว (98.0%) • โคเนื้อ 7.29 ล้านตัว (82.5%)

  9. ด้านการแปรรูป • โรงฆ่าสัตว์ที่ได้รับอนุญาต 255 แห่ง - โรงฆ่าเฉพาะโค กระบือ 117 แห่ง - โรงฆ่าโค กระบือ และสุกร 138 แห่ง - โรงฆ่าได้มาตรฐานส่งออก 7 แห่ง • โรงงานแปรรูป 73 แห่ง (ทำลูกชิ้น) • โรงงานฟอกหนัง 103 แห่ง • โรงงานกระดูกป่น 8 แห่ง

  10. ตลาดโคมีชีวิต • จำนวนตลาดนัด 178 แห่ง • จำนวนโคที่ซื้อขาย 2.62 ล้านตัว • มูลค่า 30,160 ล้านบาท

  11. ตลาดระดับล่าง ได้แก่ เขียงตลาดสด โรงงานลูกชิ้นเนื้อโคมาจาก • โคพันธุ์พื้นเมือง และลูกผสมพื้นเมือง • แม่โคนมปลดระวาง • โคพม่า (ไม่ขุน) • ลูกโคนมหย่านม (ไม่ขุน) ผลิตเนื้อได้ 73,360 ตัน หรือ 43%

  12. ตลาดระดับกลาง ได้แก่ ตลาดสดขนาดใหญ่ ห้างสรรพสินค้า เนื้อโคมาจาก • โคมันหรือโคขุนระยะสั้นๆ • โคลูกผสมบราห์มัน • โคนมเพศผู้ขุน • โคพม่าขุน ผลิตเนื้อได้ 81,790 ตัน หรือ 54%

  13. ตลาดระดับสูง ได้แก่ โรงแรม ภัตตาคาร ร้านสเต็กห้างสรรพสินค้าเนื้อโคมาจาก • สหกรณ์ปศุสัตว์โพนยางคำ (Thai-French Beef) • สหกรณ์โคเนื้อกำแพงแสน (KU-Beef) • ลุงเชาว์ฟาร์ม (Beef Pro.) • สหกรณ์หนองสูง ผลิตเนื้อได้ 3,476 ตัน หรือ 2% นำเข้าจากต่างประเทศ 1,921 ตัน หรือ 1%

  14. การนำเข้าและส่งออกโคเนื้อ ปี 50 ที่มา : กรมศุลกากร

  15. การนำเข้าและส่งออกโคเนื้อ ปี 51 (ม.ค. – ก.ย.) ที่มา : กรมศุลกากร

  16. สถานการณ์กระบือปัจจุบันสถานการณ์กระบือปัจจุบัน

  17. สถิติจำนวนกระบือในประเทศไทย ปี 2546 - 2550 ที่มา : ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์

  18. สถิติจำนวนกระบือ แยกเป็นรายภาค ในปี 2550 ที่มา : ศูนย์สารสนเทศ กรมปศุสัตว์

  19. ด้านการผลิตเนื้อกระบือด้านการผลิตเนื้อกระบือ 1. เกษตรกรผู้เลี้ยงกระบือ 0.37 ล้านครอบครัว 2. จำนวนกระบือ 1.57 ล้านตัว 2.1 เพศผู้ 0.42 ล้านตัว 2.2 เพศเมีย 1.15 ล้านตัว - วัยเจริญพันธุ์ 0.62 ล้านตัว - ผลิตลูกได้ 0.248 ล้านตัว/ปี

  20. การฆ่าและบริโภคเนื้อกระบือการฆ่าและบริโภคเนื้อกระบือ • ขออนุญาตฆ่า 87,144 ตัว • คาดว่าฆ่าจริง 261,000 ตัว • ผลิตเนื้อกระบือได้ 36,279 ตัน • เฉลี่ยบริโภค 0.84 กก. / คน / ปี

  21. การนำเข้าและส่งออกกระบือ ปี 51 (ม.ค. – ก.ย.) ที่มา : กรมศุลกากร

  22. ปัญหาด้านการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อที่ผ่านมาปัญหาด้านการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อที่ผ่านมา

  23. ราคาโคเนื้อมีชีวิตตกต่ำ 30-38 บาท/กก. สาเหตุจาก • ค่านิยมเลี้ยงโคสวยงามลดลง • มีการลักลอบนำเข้าเนื้อเถื่อน • มีโรงฆ่าสัตว์เถื่อน • เกิดจากภาวะเศรษฐกิจของผู้บริโภค • อาหารสัตว์มีราคาแพง • เกษตรกรมีการเลี้ยงโคมากขึ้น • ค่านิยมการบริโภคเนื้อโคลดลง • เกษตรกรเปลี่ยนอาชีพจากการเลี้ยงโคไปปลูกพืชเศรษฐกิจ • ด้านกลไกตลาด

  24. แนวทางแก้ไข • จดทะเบียนฟาร์มผู้เลี้ยงโคเนื้อ • ขึ้นทะเบียนผู้จำหน่ายเนื้อโค - กระบือ • ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการบริโภคเนื้อโคที่ถูกต้อง • ตรวจสอบโรงงานผลิตลูกชิ้นเนื้อโค • เข้มงวดตรวจสอบการลักลอบนำเข้าเนื้อโคจากต่างประเทศ • สนับสนุนการส่งออกโคไปต่างประเทศ

  25. สวัสดี

More Related