1.15k likes | 1.95k Views
การบรรยาย เรื่อง การตรวจติดตามประเมินผลของจเรตำรวจ โดย. พ.ต.อ .ดร.สุวิทย์ มาดะมัน. ประเภทของการตรวจราชการของ ตร. ตามประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 56 ว่าด้วยการตรวจราชการ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท การตรวจราชการในหน้าที่ผู้บังคับบัญชา การตรวจราชการเฉพาะหน้าที่
E N D
การบรรยายเรื่องการตรวจติดตามประเมินผลของจเรตำรวจโดยการบรรยายเรื่องการตรวจติดตามประเมินผลของจเรตำรวจโดย พ.ต.อ.ดร.สุวิทย์ มาดะมัน
ประเภทของการตรวจราชการของ ตร. ตามประมวลระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 56 ว่าด้วยการตรวจราชการ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท • การตรวจราชการในหน้าที่ผู้บังคับบัญชา • การตรวจราชการเฉพาะหน้าที่ • การตรวจราชการในหน้าที่จเรตำรวจ
การตรวจราชการในหน้าที่จเรตำรวจการตรวจราชการในหน้าที่จเรตำรวจ 1. การตรวจราชการกรณีปกติ 2. การตรวจราชการกรณีพิเศษ
ความเป็นมาของสำนักงานจเรตำรวจความเป็นมาของสำนักงานจเรตำรวจ • การตรวจราชการของตำรวจ เกิดขึ้นครั้งแรกตามพระราชดำริของรัชกาลที่ 6 ปี พ.ศ.2458 • พ.ศ.2458 – พ.ศ.2465 ตั้งจเรตำรวจ เรียกว่า จเรใหญ่กรมตำรวจพระนครบาลและกรมตำรวจภูธร • พ.ศ.2466 – พ.ศ.2470 ตั้งกรมสำรวจ • พ.ศ.2471 – พ.ศ.2474 ยกเลิกกรมสำรวจแล้วตั้งจเรตำรวจภูธร • พ.ศ.2475 เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช มาเป็นการปกครองแบบประชาธิปไตย เปลี่ยนชื่อกรมตำรวจภูธรมา เป็นกรมตำรวจ
พ.ศ.2476 – พ.ศ.2480 ตั้งกองจเรตำรวจภูธรภาค • พ.ศ.2481 – พ.ศ.2490 ยกเลิกกองจเรตำรวจภูธรภาค ตั้งจเรตำรวจ • พ.ศ.2491 – พ.ศ.2492 ยกเลิกจเรตำรวจ ตั้งแผนกตรวจรายงานตรวจราชการ • พ.ศ.2493 – พ.ศ.2494 ตั้งกองจเรตำรวจ • พ.ศ.2495 – พ.ศ.2502 ยกฐานะกองจเรตำรวจเป็นกองบัญชาการจเรตำรวจ • พ.ศ.2503 – พ.ศ.2527 เปลี่ยนกองบัญชาการจเรตำรวจเป็นสำนักงานจเรตำรวจ
พ.ศ.2528 – พ.ศ.2529 เปลี่ยนกำหนดหน้าที่การงานในสำนักงานจเรตำรวจ • พ.ศ.2532 – พ.ศ.2533 เปลี่ยนกำหนดหน้าที่การงานในสำนักงานจเรตำรวจ • พ.ศ.2534 – พ.ศ.2547 เปลี่ยนโครงสร้างในสำนักงานจเรตำรวจ แบ่งออกเป็น ส่วนตรวจฯ 1-5 , ส่วนสืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริง • พ.ศ.2547 – พ.ศ.2549 เปลี่ยนโครงสร้างในสำนักงานจเรตำรวจ แบ่งออกเป็น กองตรวจฯ 1-5 , บก.อก. • พ.ศ.2550 – พ.ศ.2552 เพิ่มตำแหน่งผู้ตรวจราชการแบ่งออกเป็น 10 เขตตรวจราชการ • พ.ศ.2552 – ปัจจุบัน แบ่งส่วนราชการของ จต. ออกเป็น 10 กองตรวจราชการ
โครงสร้างของสำนักงานจเรตำรวจในปัจจุบันโครงสร้างของสำนักงานจเรตำรวจในปัจจุบัน กต.1 รับผิดชอบ ภ.1 กต.2 ” ภ.2, บช.ศ., บช.ปส., นรป., ตท., สท., กตช. กต.3 ” ภ.3, บช.ส. กต.4 ” ภ.4, สลก.ตร., สงป., สตส. กต.5 ” ภ.5, รพ.ตร., สกพ., สกบ., วน. กต.6 ” ภ.6, กมส., สง.ก.ตร. กต.7 ” ภ.7, รร.นรต., ตชด., สยศ., บ.ตร. กต.8 ” ภ.8, สตม. กต.9 ” ภ.9, บช.ก.,ศชต. กต.10 ” บช.น., สพฐ.ตร., สทส.
ผู้บังคับบัญชารับผิดชอบกองตรวจราชการผู้บังคับบัญชารับผิดชอบกองตรวจราชการ กองตรวจราชการ 1 ประกอบด้วย พล.ต.ท.สมคิด บุญถนอม จตร.(หน.จต.) พล.ต.ต.ณรงค์ กาญจนะ รอง จตร. พล.ต.ต.พงษ์สิทธิ์ แสงเพชร ผบก.กต.1 จต. กองตรวจราชการ 2 ประกอบด้วย พล.ต.ท.อรรถพร อุทยานานนท์ จตร.(กต.2) พล.ต.ต.ศักดา ชื่นภักดี รอง จตร. พล.ต.ต.อังกูร พูลเจริญ ผบก.กต.2 จต.
ผู้บังคับบัญชารับผิดชอบกองตรวจราชการผู้บังคับบัญชารับผิดชอบกองตรวจราชการ กองตรวจราชการ 3 ประกอบด้วย พล.ต.ท.ก่อเกียรติ วงศ์วรชาติ จตร.(กต.3) พล.ต.ต.ชิษณุพงษ์ยุกตะทัต รอง จตร. พล.ต.ต.สิทธิพัฒน์ ตันติยานนท์ ผบก.กต.3 จต. กองตรวจราชการ 4 ประกอบด้วย พล.ต.ท.ชัยยะ ศิริอำพันธ์กุล จตร.(กต.4) พล.ต.ต.จตุรงค์ ภุมรินทร์ รอง จตร. พล.ต.ต.ฉลอง ภาคย์ภิญโญ ผบก.กต.4 จต.
ผู้บังคับบัญชารับผิดชอบกองตรวจราชการผู้บังคับบัญชารับผิดชอบกองตรวจราชการ กองตรวจราชการ 5 ประกอบด้วย พล.ต.ท.นเรศ เทียนกริม จตร.(กต.5) พล.ต.ต.ธารินทร์ จันทราทิพย์ รอง จตร. พล.ต.ต.เฉลิมพันธ์ อจลบุญ ผบก.กต.5 จต. กองตรวจราชการ 6 ประกอบด้วย พล.ต.ท.ชัยยง กีรติขจร จตร.(กต.6) พล.ต.ต.คเชนทร์ คชพลายยุกต์ รอง จตร. พล.ต.ต.สมชาย พัชรอินโต ผบก.กต.6 จต.
ผู้บังคับบัญชารับผิดชอบกองตรวจราชการผู้บังคับบัญชารับผิดชอบกองตรวจราชการ กองตรวจราชการ 7 ประกอบด้วย พล.ต.พงษ์สันต์ เจียมอ่อน จตร.(กต.7) พล.ต.ต.เรวัช กลิ่นเกษร รอง จตร. พล.ต.ต.รังสิต พิริยายนผบก.กต.7 จต. กองตรวจราชการ 8 ประกอบด้วย พล.ต.ท.ม.ล.พันธ์ศักดิ์ เกษมสันต์ จตร.(กต.8) พล.ต.ต.เทศาศิริวาโท รอง จตร. พล.ต.ต.วิทยเดช วรดิลก ผบก.กต.8 จต.
ผู้บังคับบัญชารับผิดชอบกองตรวจราชการผู้บังคับบัญชารับผิดชอบกองตรวจราชการ กองตรวจราชการ 9 ประกอบด้วย พล.ต.ท.อุดม ชัยมงคลรัตน์ จตร.(กต.9) พล.ต.ต.สุชาติ ธีระสวัสดิ์ รอง จตร. พล.ต.ต.ธนพล สนเทศ ผบก.กต.9 จต. กองตรวจราชการ 10 ประกอบด้วย พล.ต.ท.เอกรัตน์ มีปรีชา จตร.(กต.10) พล.ต.ต.เอื้อพงษ์ โกมารกุล ณ นคร รอง จตร. พล.ต.ต.ปิยะพล โมกขะวรรธนะ ผบก.กต.10 จต.
หน้าที่ของจเรตำรวจ • เป็นฝ่ายอำนวยการให้ ตร. ในการวางแผน ควบคุม ตรวจสอบ ให้คำแนะนำและเสนอแนะการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ของ จต. • ควบคุม ตรวจสอบ แนะนำ หน่วยงานในสังกัด ตร. ให้เป็นไปตามนโยบายของ กตช. และ ตร. • ดำเนินการเกี่ยวกับการตรวจราชการ
ดำเนินการเกี่ยวกับการรับเรื่องร้องเรียนหรือร้องทุกข์และการตรวจสอบและสืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริงดำเนินการเกี่ยวกับการรับเรื่องร้องเรียนหรือร้องทุกข์และการตรวจสอบและสืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริง • ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย
แบบและวิธีการตรวจราชการ ของจเรตำรวจ
ด้านบริการทั่วไปประกอบด้วย 6 กิจกรรม 9 หัวข้อการตรวจคะแนนเต็ม 100 คะแนน
โดยมุ่งเน้น • One Stop Service • การประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบ • มุ่งการให้บริการ ด้วยความเต็มใจและใส่ใจ (Service Mind) • การรักษามาตรฐานในการให้บริการด้วยความรวดเร็ว
กิจกรรมและหัวข้อการตรวจที่สำคัญ กิจกรรมและหัวข้อการตรวจที่สำคัญ 1. กิจกรรมที่ 2 หัวข้อการตรวจ 2.1 One Stop Service
กิจกรรมที่ 3 หัวข้อการตรวจ 3.1 ติดตั้งป้ายแสดงเส้นทางไป สน./สภ. “Police Station”
กิจกรรมที่ 4 หัวข้อการตรวจ 4.1 – 4.3 - ที่จอดรถสำหรับประชาชน - ดูแลรักษาความสะอาดภายใน / ภายนอก / บ้านพัก
ด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญาด้านการอำนวยความยุติธรรมทางอาญา ประกอบด้วย 10 กิจกรรม 23 หัวข้อการตรวจ คะแนนเต็ม 100 คะแนน
โดยมุ่งเน้น • การควบคุม กำกับ ดูแล การปฏิบัติงานของ พงส. • เน้นการให้บริการประชาชน เช่น การคืนหลักทรัพย์ประกัน จำหน่ายของกลาง รถ ต่างๆ การแจ้งความคืบหน้า เป็นต้น • ตอบแทนการปฏิบัติหน้าที่ของ พงส. เช่น การประเมิน,การจัดอันดับ พงส.ดีเด่น เป็นต้น
กิจกรรมและหัวข้อการตรวจที่สำคัญ กิจกรรมและหัวข้อการตรวจที่สำคัญ • กิจกรรมที่ 3หัวข้อการตรวจ 3.1 การตรวจสำนวนตามคำสั่ง ตร.ที่ 960/2537 ลง 10 ส.ค.37
กิจกรรมที่ 3 หัวข้อการตรวจ 3.1 ให้คะแนน ดังนี้ 1.ไม่มีสำนวนล่าช้า ของสำนวนที่อยู่ระหว่างดำเนินการ ให้ 30 คะแนน 2. มีสำนวนล่าช้า 1 – 5 % ของสำนวนที่อยู่ระหว่างดำเนินการ ให้ 24 คะแนน 3. มีสำนวนล่าช้า 5.1 – 10 % ของสำนวนที่อยู่ระหว่างดำเนินการ ให้ 18 คะแนน 4. มีสำนวนล่าช้า 10.1 – 15 % ของสำนวนที่อยู่ระหว่างดำเนินการ ให้ 12 คะแนน 5.มีสำนวนล่าช้า 15.1 – 100 % ของสำนวนที่อยู่ระหว่างดำเนินการ ให้ 6 คะแนน
กิจกรรมที่ 3หัวข้อการตรวจ 3.2 การตรวจรูปแบบการทำสำนวนการสอบสวน -ตรวจสมุดประจำวันที่ลงเป็นหลักฐาน -ตรวจสมุดประจำวันคดี -ไม่ออกหมายเลขคดี ถือว่า ไม่ถูกต้อง -สุ่มตรวจ
กิจกรรมที่ 3 หัวข้อการตรวจ 3.2 ให้คะแนน ดังนี้ ไม่พบข้อบกพร่องแต่อย่างใด 10 คะแนน พบข้อบกพร่องตั้งแต่ 1 - 5 เรื่อง/เล่ม 8 คะแนน พบข้อบกพร่องตั้งแต่ 6 - 10 เรื่อง/เล่ม 6 คะแนน พบข้อบกพร่องตั้งแต่ 11-15 เรื่อง/เล่ม 4 คะแนน พบข้อบกพร่องตั้งแต่ 16 เรื่องขึ้นไป/เล่ม 2 คะแนน
3.กิจกรรมที่ 4 หัวข้อการตรวจ 4.1 , 4.2 สมุดสถิติคดีอาญา-จราจร
4.กิจกรรมที่ 4หัวข้อการตรวจ 4.3 (ปรับปรุงใหม่) ตรวจการส่งสำนวนให้อัยการ จากสมุดสถิติคดีอาญา-จราจร -ตรวจบันทึกความเห็น ในช่อง หน.พงส. -ตรวจบันทึกเลขทะเบียนส่งหนังสือ -ตรวจหลักฐานการรับสำนวนหรือสำเนาหนังสือ
5.กิจกรรมที่ 5หัวข้อการตรวจ5.1 การคืนของกลาง คืนหลักทรัพย์ประกันตัว
6.กิจกรรมที่ 5หัวข้อการตรวจ5.2, 5.3, 5.4 รถของกลาง รถอุบัติเหตุ รถต้องสงสัย
7.กิจกรรมที่ 8หัวข้อการตรวจ 8.1 การแจ้งความคืบหน้า
8.กิจกรรมที่ 10หัวข้อการตรวจ 10.1,10.2 ห้องควบคุม
ด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินประกอบด้วย 11 กิจกรรม 24 หัวข้อการตรวจ คะแนนรวม 100 คะแนน แบ่งเป็น งานด้านป้องกันปราบปราม 7 กิจกรรม 13 หัวข้อการตรวจ 60 คะแนน งานด้านสืบสวนฯ 3 กิจกรรม 7 หัวข้อการตรวจ 23 คะแนน งานด้านชุมชนและมวลชนสัมพันธ์1 กิจกรรม 4 หัวข้อการตรวจ 17 คะแนน
โดยมุ่งเน้น • การควบคุม กำกับ ดูแล การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมของงานฝ่ายป้องกันปราบปราม • การดำเนินการในเชิงรุกของงาน ตชส. • เน้นการปฏิบัติของฝ่ายสืบสวนฯในด้านฐานข้อมูลต่างๆการจับกุมหมายจับค้างเก่าและมาตรการในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอย่างเป็นรูปธรรม
กิจกรรมและหัวข้อการตรวจที่สำคัญกิจกรรมและหัวข้อการตรวจที่สำคัญ กิจกรรมที่ 1 หัวข้อการตรวจ 1.1 การอบรมปล่อยแถวก่อนออกตรวจ
กิจกรรมที่ 1 หัวข้อการตรวจ 1.3 การรวบรวมข้อมูลอาชญากรรมในพื้นที่ ไว้อย่างสม่ำเสมอ
กิจกรรมที่ 2 หัวข้อการตรวจ 2.1 สายตรวจมีวงรอบการตรวจ ตามเกณฑ์ที่กำหนด
สำหรับ สภ./สน.ที่มี ผกก.และ สวญ.เป็นหัวหน้าหลักเกณฑ์การประเมินการตรวจตู้แดงคะแนน 10 คะแนน 1.จัดทำสมุดตรวจตู้แดงตามแบบที่ ตร. กำหนด = 1 คะแนน 2. สายตรวจตรวจตู้แดง 8 ช.ม. 2 ครั้ง = 2 คะแนน 3. หัวหน้าสายตรวจตรวจตู้แดง 1 ครั้ง ในทุกจุดตรวจ และทุกเขตตรวจ = 2 คะแนน 4.สวป.ตรวจตู้แดงอย่างน้อย 5 วัน ใน 7 วัน ในครึ่งหนึ่งของ แต่ละเขตตรวจ = 1 คะแนน
5.รอง ผกก.(ป) ตรวจตู้แดงอย่างน้อย 3 วัน ใน 7 วัน ในครึ่งหนึ่ง ของแต่ละเขตตรวจ = 1 คะแนน 6. ผกก.ตรวจสอบความถูกต้องในรอบ 7 วัน 1 ครั้ง ทุกจุดตรวจ และทุกเขตตรวจ = 1 คะแนน 7. มีการสรุปประจำวันของแต่ละวันตามแบบที่ ตร. กำหนด = 1 คะแนน 8. มีการหมายเหตุถึงสาเหตุการตรวจตู้แดงไม่ครบถ้วน = 1 คะแนน
สำหรับ สภ. / สน. ที่มี สว. เป็นหัวหน้าหลักเกณฑ์การประเมินการตรวจตู้แดงคะแนน 10 คะแนน 1. จัดทำสมุดตรวจตู้แดงตามแบบที่ ตร. กำหนด = 1 คะแนน 2. สายตรวจตรวจตู้แดง 8 ช.ม. 2 ครั้ง = 3 คะแนน 3. หัวหน้าสายตรวจตรวจตู้แดง 2 ครั้ง ในทุกจุดตรวจ และทุกเขตตรวจ โดยก ลางวันตรวจ 1 ครั้ง กลางคืน 1 ครั้ง = 3 คะแนน
4.สว. ตรวจสอบความถูกต้องในรอบ 7 วัน ใน 1 ครั้ง ทุกจุดตรวจและทุกเขตตรวจ = 1 คะแนน 5. มีการสรุปประจำวันของแต่ละวันตามแบบที่ ตร. กำหนด = 1 คะแนน 6. มีการหมายเหตุถึงสาเหตุการตรวจตู้แดงไม่ครบถ้วน = 1 คะแนน
กิจกรรมที่ 6 หัวข้อการตรวจ 6.1 การจัดทำข้อมูลข่าวสาร
ด้านการควบคุมและจัดการจราจรด้านการควบคุมและจัดการจราจร ประกอบด้วย 5 กิจกรรม 10 หัวข้อการตรวจ คะแนน 100 คะแนน
โดยมุ่งเน้น • การควบคุม กำกับ ดูแล การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมของงานด้านจราจร • การบังคับใช้กฎหมายอย่างเหมาะสมถูกต้อง • การจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน ในการแก้ไขปัญหาจราจรอย่างเป็นรูปธรรม • เพิ่มทักษะและปลูกฝัง จิตสำนึกในการให้บริการแก่ประชาชน
กิจกรรมและหัวข้อการตรวจที่สำคัญ กิจกรรมและหัวข้อการตรวจที่สำคัญ 1.กิจกรรมที่ 1 หัวข้อการตรวจ 1.1 - การรวบรวมข้อมูลและสภาพปัญหาเพื่อวางแผนจัดการจราจร
กิจกรรมที่ 1 หัวข้อการตรวจ 1.2 จัดทำแผน 3 แผน - แผนจราจรรายปี / แผนพัฒนางานจราจร - แผ่นจราจรรองรับเทศกาลต่างๆ - แผนตามเหตุการณ์ฉุกเฉิน
กิจกรรมที่ 2 หัวข้อการตรวจ 2.1 การจัดกำลังตำรวจ ควบคุม อำนวยความสะดวก และแก้ไขปัญหาการจราจร
กิจกรรมที่ 2 หัวข้อการตรวจ 2.2 การตั้งจุดตรวจ / จุดสกัด
มาตรการการปฏิบัติเกี่ยวกับการตั้ง ด่านตรวจ จุดตรวจ จุดสกัด
ความหมาย ด่านตรวจ สถานที่ทำการของตำรวจที่ออกปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจค้นฯ โดยระบุสถานที่ไว้ชัดแจ้ง เป็นการถาวร (ได้รับอนุมัติจาก ครม./ผู้มีอำนาจตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง/กอ.รมน.)