390 likes | 840 Views
การตรวจสำนวน การสอบสวนทางวินัย. ส่วนมาตรฐานวินัย อุทธรณ์และร้องทุกข์ สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. การตรวจสำนวนการสอบสวน. จุดมุ่งหมายเพื่อ ๑. ตรวจสอบ ๑.๑ ข้อเท็จจริง * ๑.๒ ข้อกฎหมาย ๑.๓ ขั้นตอน กระบวนการสอบสวน *
E N D
การตรวจสำนวนการสอบสวนทางวินัยการตรวจสำนวนการสอบสวนทางวินัย ส่วนมาตรฐานวินัย อุทธรณ์และร้องทุกข์ สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
การตรวจสำนวนการสอบสวนการตรวจสำนวนการสอบสวน จุดมุ่งหมายเพื่อ ๑. ตรวจสอบ ๑.๑ ข้อเท็จจริง* ๑.๒ ข้อกฎหมาย ๑.๓ ขั้นตอน กระบวนการสอบสวน* ๑.๔ การพิจารณาวินิจฉัยความผิด ๑.๕ การทำรายงานการสอบสวน ๒. ดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องก่อนรายงานการสอบสวน ๓. ตรวจสอบความถูกต้องก่อนการพิจารณาสั่งการ
สาระสำคัญของการดำเนินการทางวินัยสาระสำคัญของการดำเนินการทางวินัย มาตรา ๑๕ การออกคำสั่งเกี่ยวกับ...การสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ออกจากราชการ...หรือการอื่นใดที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ให้เป็นอำนาจของนายก อบจ. ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.จ.จ. กำหนด แต่สำหรับการออกคำสั่งแต่งตั้ง และการให้ข้าราชการ อบจ.พ้นจากตำแหน่ง ต้องได้รับความเห็นชอบจาก ก.จ.จ.ก่อน (มาตรา ๒๓,๒๕) ข้อ ๒๒วรรคหนึ่ง“การดำเนินการทางวินัย...กรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย ให้สอบสวนเพื่อให้ได้ความจริงและยุติธรรมโดยไม่ชักช้า และต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาเท่าที่มีให้ ผถห. ทราบ โดยจะระบุหรือไม่ระบุชื่อพยานก็ได้ และต้องให้โอกาส ผถห. ชี้แจงและนำสืบแก้ข้อกล่าวหา” (สอดคล้องพ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มาตรา ๓๐)
ผังการดำเนินการทางวินัยผังการดำเนินการทางวินัย กรณี ป.ป.ช.ชี้มูล ไม่ต้องสอบสวนทางวินัย ให้ใช้สำนวนของ ป.ป.ช. แทนสำนวนการสอบสวนทางวินัย มีมูลกระทำผิดวินัย มีกรณีถูกกล่าวหา สืบสวน ไม่ร้ายแรง ร้ายแรง ปรากฏชัดแจ้ง 1.สอบสวนตามที่ นายกเห็นสมควร* 2. ตั้งกรรมการ สอบสวนวินัย อย่างไม่ร้ายแรง -ต้องตั้งกรรมการ สอบสวนวินัย -สอบสวนตาม ขั้นตอนของ ประกาศหลักเกณฑ์ - ไม่ร้ายแรง - ร้ายแรง (สั่งลงโทษโดยไม่สอบสวนหรืองดการสอบสวนก็ได้) สอบสวนให้ได้ข้อเท็จจริงไม่ชักช้า แจ้งข้อกล่าวหาสรุป พฐ.ให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ ให้โอกาสชี้แจงนำสืบแก้ฯ
ร้ายแรง ๑. ประชุมวางแนวทาง ๒. เรียกมาแจ้ง สว.๒ ๓. ดำเนินการรวบรวม พฐ. ที่สนับสนุนข้อกล่าวหา ๔. ประชุมตามข้อ ๔๓ เรียกมาแจ้ง สว.๓ ๕. ให้โอกาสชี้แจงและนำสืบแก้ข้อกล่าวหา ๖. ประชมพิจารณาลงมติข้อ ๕๗ ๗. รายงานการสอบสวน (สว.๖) ๑. ต้องมีการสอบสวน ๒. ต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุป พฐ.ที่สนับสนุนข้อกล่าวหา ๓. ต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหา - ชี้แจง และ - นำสืบแก้ข้อกล่าวหา ผู้สั่งแต่งตั้ง กรรมการสอบสวน สอบสวน พิจารณา และวินิจฉัย พิจารณา สั่งการ รายงาน ก.จังหวัด ๑. เห็นชอบ ๒. สอบเพิ่ม ๓. เพิ่ม,ลด,งดโทษ ๔. มติประการใด ให้ นายก สั่ง/ปฎิบัติตาม การสั่งพกราชการ หรือการสั่งให้ออกจากราชการ เพื่อ รอผลการสอบสวนพิจารณา ๑. พิจารณาเปรียบเทียบ พฐ. ๒. วินิจฉัยและลงความเห็นว่า - ไม่ได้กระทำผิด - กระทำผิด ผิดกรณีใด ข้อใด และระดับโทษ ๓. รายงานการสอบสวน ๑. พิจารณายุติเรื่อง - ไม่ได้กระทำผิด - การกระทำไม่เป็นความผิด ๒. สั่งลงโทษ/งดโทษ ๓. รายงานฯ
ไม่ร้ายแรง ๑. ต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุป พฐ.ที่สนับสนุนข้อกล่าวหา ๒. ต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหา - ชี้แจง และ - นำสืบแก้ข้อกล่าวหา ดำเนินการสอบสวนตามที่นายก อปท. เห็นสมควร ผู้มีอำนาจ ผู้ดำเนินการ สอบสวน พิจารณา และวินิจฉัย พิจารณา สั่งการ รายงาน ก.จังหวัด ๑. เห็นชอบ ๒. สอบเพิ่ม ๓. เพิ่ม,ลด,งดโทษ ๔. มติประการใด ให้ นายก สั่ง/ปฎิบัติตาม -ดำเนินการเอง -มอบหมาย -แต่งตั้ง คกก.สอบสวบข้อ เท็จจริง ๑. พิจารณาเปรียบเทียบ พฐ. ๒. วินิจฉัยและลงความเห็นว่า - ไม่ได้กระทำผิด - กระทำผิด ผิดกรณีใด ข้อใด และระดับโทษ ๓. รายงานการสอบสวน ๑. พิจารณายุติเรื่อง - ไม่ได้กระทำผิด - การกระทำไม่เป็นความผิด ๒. สั่งลงโทษ/งดโทษ ๓. รายงานฯ
๓.การตรวจสำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง๓.การตรวจสำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง ๑. ผู้มีอำนาจ ๒. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (สว.๑) ๓. ประชุมวางแนวทางการสอบสวน/การแจ้งข้อกล่าวหาตามเรื่องฯ (สว.๒) ๔. การพิจารณา/แจ้งข้อกล่าวหาและสรุป พฐ. (สว.๓) ๕. การสอบและบันทึกถ้อยคำ ผถห. และพยาน ๖. การพิจารณาลงมติ ๗. รายงานการสอบสวน (สว.๖)
การตรวจสำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรงการตรวจสำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง ๑. ผู้มีอำนาจ มาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง “การออกคำสั่ง...การสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ออกจากราชการ ...หรือการอื่นใดที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลให้เป็นอำนาจของ นายกฯ...” วรรคสอง “อำนาจ...ตามวรรคหนึ่ง นายกฯ อาจมอบหมายให้ ผบช.ข้าราชการในตำแหน่งใดของ อปท. แห่งนั้น เป็นผู้ใช้อำนาจแทนตามหลักเกณฑ์ที่ ก.จังหวัด กำหนด”
การตรวจสำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรงการตรวจสำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง ๒. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (สว.๑) ๑) การตั้งเรื่องกล่าวหา ๒) ตัวบทกฎหมายที่ให้อำนาจ ๓) กรรมการสอบสวน - จำนวน - คุณสมบัติ - การคัดค้าน ๔) การแจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน* ๕) การดำเนินการระหว่างการสอบสวน - สั่งพักราชการ - สั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน - การสั่งประจำ อปท.
การตรวจสำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรงการตรวจสำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง ๓. วางแนวทางการสอบสวน/การแจ้งข้อกล่าวหาตามเรื่องฯ (สว.๒) ๑) วางแนวทางการสอบสวน - องค์ประชุม - วางแนวทาง และทำ สว. ๒) การแจ้ง สว.๒ ๑) แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหาตามเรื่องให้ทราบว่ากระทำการใด เมื่อใด อย่างไร ๒) แจ้งสิทธิที่จะได้รับทราบ พฐ. ที่สนับสนุนข้อกล่าวหา และสิทธิการอ้างหรือนำสืบ พฐ. แก้ข้อกล่าวหา ๓) ถามว่าได้กระทำผิดหรือไม่
๔. การสอบและบันทึกถ้อยคำ ผถห. และพยานบุคคล ข้อ ๔๘ “ในการสอบปากคำผู้ถูกกล่าวหาและพยาน ให้ คกก. เรียกผู้ซึ่งจะถูกสอบปากคำเข้ามาในที่สอบสวน คราวละหนึ่งคน ห้ามมิให้บุคคลอื่นอยู่ในที่สอบสวน เว้นแต่บุคคล ซึ่งคณะกรรมการสอบสวนอนุญาตให้อยู่ในที่สอบสวนเพื่อประโยชน์ แห่งการสอบสวน” เรื่องเสร็จที่ ๒๐๕/๒๕๔๑ “ในการพิจารณาทางปกครองที่คู่กรณีต้องมาปรากฏตัวต่อหน้า จนท. คู่กรณีมีสิทธินำทนายความหรือที่ปรึกษาของตนเข้ามาในการพิจารณาทางปกครองได้” (ม. ๒๓ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ) เป็นหลักเกณฑ์ที่มีหลักประกันความเป็นธรรมแก่ ผถห. ที่สูงกว่าข้อ ๒๑ ของกฎ ก.พ. ฉบับที่ ๑๘ (พ.ศ. ๒๕๔๐)ฯ เนื่องจากสามารถปกป้องสิทธิของตนได้ดีกว่า ดังนั้น จึงต้องนำ ม.๒๓ มาใช้บังคับ”
๕. การพิจารณา/แจ้งข้อกล่าวหาและสรุป พฐ. (สว.๓) ๑. องค์ประชุม ๒. การแจ้งข้อกล่าวหา และสรุป พฐ. ที่สนับสนุน ๓. การให้โอกาสชี้แจงเป็นหนังสือ/ให้ถ้อยคำเพิ่มเติม ๔. กรณีผู้ถูกกล่าวหาไม่มา/มาแต่ไม่ลงลายมือชื่อ - ส่ง สว.๓ และ นส. ขอให้มาให้ถ้อยคำและนำสืบแก้ - ครบ ๑๕ วัน ไม่ได้รับ ถือว่าไม่ประสงค์นำสืบแก้*
การดำเนินการสอบสวน ต้อง ๑. รวบรวมประวัติ ความประพฤติ ๒. จัดทำบันทึกประจำวัน ๓. บันทึกที่มาของ พฐ. ๔. ให้โอกาสชี้แจง/นำสืบแก้ เพิ่มเติม ห้าม ๑. กระทำการล่อลวง ขู่เข็ญ ให้สัญญา กระทำการจูงใจ ๒. บุคคลอื่นอยู่ในที่สอบสวน ๓. มิให้ขูด ลบ หรือบันทึกทับข้อความ
๖. การพิจารณาวินิจฉัยโทษ และการลงมติ ๑. องค์ประชุม ๒. ข้อเท็จจริง ๓. พิจารณาวินิจฉัยโทษ ๑) กระทำผิดหรือไม่ กรณีใด ข้อใด และสถานโทษ ๒) หย่อน,บกพร่อง,หรือประพฤติไม่เหมาะสม หรือไม่ ๓) กรณีมีเหตุสงสัยว่าแต่การสอบสวนไม่แน่ชัดฯ ๔. การลงมติ ๕. การลงโทษทางวินัย การตรวจข้อเท็จจริง - ข้อเท็จจริงที่รับกัน - ข้อเท็จจริงที่ขัดแย้ง(ประเด็น) - พยานหลักฐานประกอบประเด็น - การสอบสวนหมดประเด็นหรือไม่
กรณีสอบพบฐานความผิดใหม่หรือพาดพิงบุคคลอื่นกรณีสอบพบฐานความผิดใหม่หรือพาดพิงบุคคลอื่น มีมูล - แต่งตั้งกรรมการชุดเดิม - แต่งตั้งกรรมการชุดใหม่ กรณีพบฐานใหม่ (ข้อ52) ไม่มีมูล : ยุติเรื่อง ผู้สั่งแต่งตั้ง พิจารณา กรณีพาดพิง (ข้อ 53) ไม่มีมูล : ยุติเรื่อง มีมูล - แต่งตั้งกรรมการชุดเดิม - แต่งตั้งกรรมการชุดใหม่ คณะกรรมการพิจารณาเบื้องต้นว่ามีส่วนในเรื่องที่สอบหรือไม่ สำเนา พฐ. สำนวนเดิม รวมในสำนวนใหม่ บันทึกให้ปรากฏว่า พฐ. ได้จากสำนวนใด กรณีแยกสำนวน
การดำเนินการทางวินัย และคดีอาญา EX การสั่งลงโทษทางวินัยกรณีข้าราชการต้องหาคดีอาญา ๑) การดำเนินการทางวินัยกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดในคดีอาญา นั้น ผบช. มีอำนาจดำเนินการได้โดยไม่จำต้องรอผลการดำเนินคดีอาญาเนื่องจากกฎหมายได้กำหนดอำนาจหน้าที่และวิธีการสอบสวนแยกเป็นส่วนหนึ่งต่างหากจากการดำเนินคดีอาญา....โทษทางวินัยมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาระเบียบวินัย จนท.ของรัฐให้เป็นผู้เหมาะสมและสมควรแก่ความไว้วางใจของสาธารณชนที่จะใช้อำนาจรัฐในการจัดทำบริการสาธารณะ แต่การดำเนินคดีอาญาเป็นการดำเนินการที่มีผลกระทบต่อชีวิตและร่างกายของผู้กระทำผิด การลงโทษในคดีอาญาจึงต้องกระทำโดยมีพยานหลักฐานอันประจักษ์แจ้ง ดังนั้น การพิจารณาสั่งลงโทษทางวินัยข้าราชการจึงไม่จำต้องรอฟังผลในคดีอาญาแต่อย่างใด (คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๓๗๐/๒๕๕๐)
๒) ในคดีอาญาศาลจะพิพากษาลงโทษจำเลยต่อเมื่อ พฐ.ปรากฏชัดเจนว่าจำเลยกระทำความผิดตามฟ้องจริงหาก พฐ.ไม่เพียงพอหรือยังเป็นที่น่าสงสัยว่าจำเลยกระทำความผิดอาญาหรือไม่ ศาลจะต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัย ให้จำเลยโดยพิพากษายกฟ้องส่วนการดำเนินการทางวินัยแก่ ขรก. นั้น มีกฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการขั้นตอนการสอบสวนพิจารณาโทษทางวินัยไว้โดยเฉพาะต่างหากจากการดำเนินคดีอาญา ทั้งนี้ การพิจารณาดำเนินการทางวินัยไม่จำต้องตรงกับผลทางคดีอาญาเสมอไป แม้คดีอาญาศาลจะมีคำพิพากษายกฟ้องก็มิได้หมายความว่า ขรก. ผู้นั้นมิได้กระทำผิดทางวินัยตามที่ถูกกล่าวหา (คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๓๙๐/๒๕๕๑)
ผลทางกฎหมายต่อขั้นตอน/การสอบสวนไม่ถูกต้องผลทางกฎหมายต่อขั้นตอน/การสอบสวนไม่ถูกต้อง กรณี สว.๑ ไม่ถูกต้อง ข้อ ๖๑ในกรณีที่ปรากฏว่าการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนไม่ถูกต้องตามที่กำหนดในข้อ๓๑ให้การสอบสวนทั้งหมดเสียไป...ให้นายกฯ แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนใหม่ให้ถูกต้อง ผล - การสอบสวนเสียทั้งหมด - ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนใหม่
ผลทางกฎหมายต่อขั้นตอน/การสอบสวนไม่ถูกต้องผลทางกฎหมายต่อขั้นตอน/การสอบสวนไม่ถูกต้อง ข้อ ๖๒ในกรณีที่ปรากฏว่าการสอบสวนตอนใดทำไม่ถูกต้อง ให้การสอบสวนตอนนั้นเสียไป เฉพาะในกรณีดังต่อไปนี้ (๑) การประชุมของ คกก. มีกรรมการสอบสวนมาประชุมไม่ครบตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓๕วรรคหนึ่ง (๒) การสอบปากคำบุคคลดำเนินการไม่ถูกต้องตามที่กำหนดไว้ใน ข้อ๓๙ วรรคสอง,๔๖,๔๗,๔๘วรรคหนึ่ง หรือข้อ ๕๑ ในกรณีเช่นนี้ ให้นายกฯ สั่งให้คณะกรรมการสอบสวนดำเนินการใหม่ ให้ถูกต้องโดยเร็ว
ผลทางกฎหมายต่อขั้นตอน/การสอบสวนไม่ถูกต้องผลทางกฎหมายต่อขั้นตอน/การสอบสวนไม่ถูกต้อง ข้อ ๖๓ในกรณีที่ปรากฏว่าคณะกรรมการสอบสวน - ไม่เรียกผู้ถูกกล่าวหามา รับทราบ สว.๓ หรือ - ไม่ส่ง สว.๓ ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับหรือ* - ไม่มีหนังสือขอให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงหรือนัดมาให้ถ้อยคำหรือ นำสืบแก้ข้อกล่าวหาตามข้อ ๔๓ ให้นายกฯ ให้คณะกรรมการสอบสวนดำเนินการให้ถูกต้องโดยเร็ว และต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาที่จะชี้แจงให้ถ้อยคำ และนำสืบแก้ข้อกล่าวหาตามที่กำหนดในข้อ ๔๓ด้วย
ผลทางกฎหมายต่อขั้นตอน/การสอบสวนไม่ถูกต้องผลทางกฎหมายต่อขั้นตอน/การสอบสวนไม่ถูกต้อง ข้อ ๖๔ในกรณีที่ปรากฏว่าการสอบสวนตอนใดทำไม่ถูกต้องตามหมวดนี้ นอกจากที่กำหนดใน ข้อ๖๑ข้อ ๖๒และข้อ ๖๓ถ้าการสอบสวนตอนนั้นเป็นสาระสำคัญอันจะทำให้เสียความเป็นธรรม ให้นายกฯ สั่งให้คณะกรรมการสอบสวนแก้ไขหรือดำเนินการตอนนั้นให้ถูกต้องโดยเร็วแต่ถ้าการสอบสวน ตอนนั้นมิใช่สาระสำคัญอันจะทำให้เสียความเป็นธรรม นายกฯ จะสั่งให้แก้ไขหรือดำเนินการให้ถูกต้องหรือไม่ ก็ได้
การตรวจสำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรงการตรวจสำนวนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง ๗. รายงานการสอบสวน (สว.๖) เรื่อง/เรียน คำสั่งแต่งตั้ง/ประธานได้รับทราบคำสั่งวันที่ ๑. มูลกรณี ๒. แจ้ง สว. (รายละเอียด และวิธีการแจ้ง) ๓. การให้ถ้อยคำเบื้องต้น (ชั้น สว.๒) ๔. การรวบรวม พฐ. สนับสนุน (เหตุที่ไม่สอบหรืองดฯ) ๕. แจ้ง สว.๓ (รายละเอียด และวิธีการแจ้ง) ๖. ให้โอกาสชี้แจง และผู้ถูกกล่าวชี้แจ้งแก้อย่างไร ๗. การพิจารณา ลงมติ และความเห็น (เปรียบเทียบ /วินิจฉัย/ความเห็น)
๓.กรณีไม่ต้องดำเนินการสอบสวนหรืองดการสอบสวน๓.กรณีไม่ต้องดำเนินการสอบสวนหรืองดการสอบสวน ๑. ความผิดปรากฏชัดแจ้ง (ไม่สอบสวนหรืองดการสอบสวนก็ได้) ไม่ร้ายแรง - กระทำผิดอาญาต้องคำพิพากษาที่สุดว่ากระทำผิด - รับสารภาพเป็นหนังสือต่อผู้มีหน้าที่สืบสวน ร้ายแรง - กระทำผิดอาญาต้องคำพิพากษาที่สุดให้จำคุก - รับสารภาพเป็นหนังสือต่อผู้มีหน้าที่สืบสวน - ละทิ้งฯ เกิน ๑๕ วัน โดยไม่มีเหตุอันสมควร ๒. กรณีผู้ถูกกล่าวหารับสารภาพชั้นการสอบสวน ๓. กรณี ป.ป.ช. ชี้มูลความผิด
การตรวจสำนวนกรณี ป.ป.ช. ชี้มูลความผิด การตรวจสำนวน ๑. เป็นการส่งเรื่องให้ อปท. ดำเนินการเอง ตามประกาศ คปค. ฉบับที่ ๓๑ ๒. เป็นการชี้มูลความผิดตามมาตรา ๙๑ - ชี้มูลความผิดใคร (ผู้เกี่ยวข้อง) - พฤติกรรมที่ถูกกล่าวหา - ระดับโทษ - ฐานความผิดที่ ป.ป.ช. ชี้มูล ๓. ดำเนินการตามาตรา ๙๒ ,๙๓
การตรวจสำนวนกรณี ป.ป.ช. ชี้มูลความผิด มาตรา ๙๒ วรรคแรก “ในกรณีมีมูลความผิดทางวินัย เมื่อ ป.ป.ช. ได้พิจารณาพฤติการณ์แห่งการกระทำความผิดแล้วมีมติว่าผู้ถูกกล่าวหาผู้ใดได้กระทำผิดวินัย ให้ประธานฯ ส่งรายงานและเอกสารที่มีอยู่พร้อมทั้งความเห็นไปยัง ผบช. หรือผู้มีอำนาจแต่งตั้งถอดถอนผู้ถูกกล่าวหาผู้นั้นเพื่อพิจารณาโทษทางวินัยตามฐานความผิดที่ ป.ป.ช. ได้มีมติ โดยไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนอีก ในการพิจารณาโทษทางวินัย ให้ถือว่ารายงานเอกสารและความเห็นของ ป.ป.ช.เป็นสำนวนการสอบสวนทางวินัยของคณะกรรมการสอบสวน...”
การตรวจสำนวนกรณี ป.ป.ช. ชี้มูลความผิด ประกาศ คปค. เรื่อง การดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ข้อ ๖ ในกรณี ป.ป.ช. พิจารณาเห็นสมควร อาจส่งเรื่องที่มีการกล่าวหาเจ้าหน้าที่รัฐซึ่งมิใช่บุคคลตามมาตรา ๖๖ ว่ากระทำความผิด ฐานทุจริตต่อหน้าที่ กระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรมที่อยู่ระหว่างดำเนินการ ให้ ผบช. ดำเนินการทางวินัย หรือดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ แล้วแต่กรณี หรือส่งเรื่องให้พนักงานสอบสวนดำเนินการตาม ป.วิ.อ. ต่อไปก็ได้
การตรวจสำนวนกรณี ป.ป.ช. ชี้มูลความผิด มาตรา ๙๓ “เมื่อได้รับรายงานตามมาตรา ๙๒ วรรคหนึ่งและวรรคสามแล้ว ให้ ผบช. พิจารณาลงโทษภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่ได้รับเรื่อง และให้ ผบช. ส่งสำเนาคำสั่งลงโทษดังกล่าวไปให้ ป.ป.ช. ทราบภายใน ๑๕ วัน...”
EX การพิจารณาความผิดตามที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) ชี้มูล ในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติว่าเจ้าหน้าที่ผู้ใดกระทำความผิดวินัย ผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจพิจารณาโทษทางวินัยแก่เจ้าหน้าที่ผู้นั้นมีอำนาจแต่เพียงพิจารณาโทษทางวินัยตามฐานความผิดที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติเท่านั้น จะพิจารณาเปลี่ยน แปลงฐานความผิดทางวินัยให้ต่างไปจากที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติไม่ได้ (คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๐๖/๒๕๔๙)
พระบรมราโชวาทในพิธีเปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติค่ายลูกเสือวชิราวุธ จังหวัดชลบุรี ๑๑ ธันวาคม ๒๕๑๒ คนดี ในบ้านเมืองนั้น มีทั้งคนดี และคนไม่ดี ไม่มีใครที่จะทำให้ทุกคนเป็นคนดีได้ทั้งหมด การทำให้บ้านเมืองมีความปกติสุขเรียบร้อย จึงมิใช่การทำให้ทุกคนเป็นคนดี หากแต่อยู่ที่การส่งเสริมคนดี ให้คนดีปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้มีอำนาจ ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้
Thank You ! Tel 0-2241-9000 Ext. 3133 www.themegallery.com