160 likes | 305 Views
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน กลุ่มพัฒนาคุณภาพการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ระบาดวิทยาและป้องกันภัยสุขภาพ จังหวัดอุดรธานี ( Q EDC ). วิสัยทัศน์. เป็นผู้นำด้านวิชาการและเทคโนโลยีการป้องกันและควบคุมโรคระดับจังหวัดและเขต. พันธกิจ.
E N D
นโยบายและแนวทางการดำเนินงานนโยบายและแนวทางการดำเนินงาน กลุ่มพัฒนาคุณภาพการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ระบาดวิทยาและป้องกันภัยสุขภาพ จังหวัดอุดรธานี ( Q EDC )
วิสัยทัศน์ เป็นผู้นำด้านวิชาการและเทคโนโลยีการป้องกันและควบคุมโรคระดับจังหวัดและเขต
พันธกิจ ศึกษา ค้นคว้าวิจัย พัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีการป้องกันและควบคุมโรคที่ได้มาตรฐาน สามารถประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ 2 ข้อ ยุทธศาสตร์หลักQEDC 1. ประชาชนจังหวัดอุดรธานี มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ด้านบริการและคุณภาพ 2. ประชาชนมีสุขภาพดีจากการ ส่งเสริมสุขภาพและควบคุมโรค
เป้าหมายการให้บริการ 1.การวิจัยพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี ครอบคุมปัญหาโรคติดต่อที่สำคัญของจังหวัด 2.การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการป้องกันและ ควบคุมโรคให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้องและประชาชน 3.การบริการป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหา โรคติดต่อที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
เป้าหมายการให้บริการ 4.การบริการรักษาพยาบาลโรคเฉพาะทาง มีคุณภาพมาตรฐาน 5.ทุกองค์กรทั้งภาครัฐ และเอกชน ชุมชนชนมีศักยภาพ ในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน ในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับการป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อ
ภารกิจหลัก Q EDC 1. ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนาและกำหนดมาตรฐานทางวิชาการ และเทศโนโลยี ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2. ถ่ายทอดองค์ความรู้ ทางวิชาการด้านการป้องกันควบคุมโรค และภัยคุกคามสุขภาพในหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องและประชาชน
ภารกิจหลัก Q EDC 3.ดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมและรักษาโรคที่มีผลกระทบ เชิงเศรษฐกิจ สังคม และที่เป็นพันธกิจสากล 4.ประสานนโยบายและแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ภารกิจหลัก Q EDC 5.ควบคุม กำกับ นิเทศ และประเมินผลงานด้านควบคุมโรค และภัยสุขภาพ 6.สร้างและพัฒนาเครือข่ายการป้องกันควบคุมโรคปัญหาสุขภาพ ตลอดจนการเฝ้าระวังโรคร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องระดับ จังหวัดและประเทศ
ผลผลิต ผลผลิตที่ 1 : การศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ และเทคโนโลยีด้านการป้องกันและควบคุมโรค ผลผลิตที่ 2: การบริการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขปัญหา โรคติดต่อ ผลผลิตที่ 3: การบริการรักษาพยาบาลเฉพาะทางมีความครอบ คลุมและมีคุณภาพมาตรฐาน
ผลผลิต ผลผลิตที่ 4 : การสนับสนุนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กร ต่างๆในการพัฒนาระบบป้องกันควบ คุมโรค
ตัวชี้วัดผลผลิตการดำเนินงานตัวชี้วัดผลผลิตการดำเนินงาน เชิงปริมาณ 1.จำนวนองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่ผลิต 2.จำนวนบุคลากรและประชาชนที่ได้รับการพัฒนา 3.จำนวนประชากรที่ได้รับบริการป้องกัน ควบคุม และสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค 4.จำนวนของผู้ป่วยที่ได้รับบริการรักษาพยาบาล 5.จำนวนขององค์กร ชุมชน ที่สามารถบริหารจัดการงานป้องกัน ควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อด้วยตนเองในระดับมาตรฐาน
ตัวชี้วัดผลผลิตการดำเนินงานตัวชี้วัดผลผลิตการดำเนินงาน เชิงคุณภาพ 1.ร้อยละ 90 ของโครงการวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้และ เทคโนโลยีที่ดำเนินการสำเร็จตามวัตถุประสงค์ในเวลาที่กำหนด 2.ร้อยละ60 ของประชาชนมีความพึงพอใจในการที่ได้รับรู้ข้อมูล ข่าวสารด้านการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ 3.ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการหลักและผู้มีส่วน ได้เสีย มีความพึงพอใจต่อการส่งเสริม สนับสนุนบริการ ป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคติดต่อ
ตัวชี้วัดผลผลิตการดำเนินงานตัวชี้วัดผลผลิตการดำเนินงาน เชิงคุณภาพ 4.ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยและประชาชนที่มารับบริการของโรงพยาบาล มีความพึงพอใจในประเด็นคุณภาพ 5.ร้อยละ 60 ขององค์กร ชุมชน ฯลฯ ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ สามารถบริหารจัดการงานป้องกัน ควบคุม และแก้ไขปัญหาโรค ติดต่อในท้องถิ่นด้วยตนเองในระดับมาตรฐาน
สวัสดี EDC ควบคุมโรคในอุดรธานี