280 likes | 452 Views
Introduction to Statistics. นางสาววันดี เอียดแก้ว รหัส 521997239. ผังมโนทัศน์. หัวข้อศึกษา. 1.1 What is Statistics ? 1.2 Types of Statistics 1.3 Population Versus Sample 1.4 Basic Terms. หัวข้อศึกษา(ต่อ). 1.5 Types of Variables 1.6 Cross-Section Vs Time-Series Data
E N D
Introduction to Statistics นางสาววันดี เอียดแก้ว รหัส 521997239
หัวข้อศึกษา 1.1 What is Statistics ? 1.2 Types of Statistics 1.3 Population Versus Sample 1.4 Basic Terms
หัวข้อศึกษา(ต่อ) 1.5 Types of Variables 1.6 Cross-Section Vs Time-Series Data 1.7 Sources of Data 1.8 Summation Notation
1.1 What is Statistics ? • สถิติหมายถึงข้อเท็จจริง ตัวเลข เช่น จำนวนที่แสดงรายได้ของครอบครัว อายุของนักเรียน ร้อยละของผู้สอบผ่านและเงินเดือนเริ่มต้นของบัณฑิต • สถิติเป็นกลุ่มวิธีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวม นำเสนอ วิเคราะห์และตีความข้อมูลรวมถึงการตัดสินใจ
1.2 Types of Statistics 1.2.1 Descriptive Statistics ประกอบด้วยวิธีการจัดแสดงและอธิบายข้อมูลโดยใช้ตารางกราฟและการสรุป 1.2.2 Inferential Statistics วิธีการศึกษาเพียงบางส่วนของประชากรและผลที่ได้ใช้การตัดสินใจหรือการคาดการณ์เกี่ยวกับประชากร
1.3 Population VS Sample • Populationประกอบด้วยลักษณะที่มีการศึกษาทั้งหมด เช่น บุคคล รายการหรือวัตถุ ประชากรที่ต้องการศึกษาเรียกว่าประชากรเป้าหมาย • Sampleหมายถึงส่วนของประชากรที่เลือกมาใช้ในการศึกษา
รูปที่ 1.1 แสดงการเลือกตัวอย่างจากประชากร Population Sample
1.3 Population VS Sample (ต่อ) • Census and Sample Survey การสำมะโนประชากรและการสำรวจ • RepresentativeSampleกลุ่มตัวอย่าง • Random Sampleตัวอย่างสุ่ม
1.4 Basic Terms • Element or Member • Variable • Observation or Measurement • Data Set
ตารางที่ 1.1แสดงผลกำไรของบริษัท 7 บริษัทในสหรัฐอเมริกา ชื่อบริษัทผลกำไร (ล้าน) Wal-Mart Stores 10,267 Exxon 25,330 General Electrical 16,593 Citigroup 17,046 Home Depot 5001 ตัวแปร ค่าที่ได้จากการสังเกตหรือค่าจากการวัด องค์ประกอบ หรือสมาชิก
1.5 Types of Variables • 1.5.1 Quantitative variables (เชิงปริมาณ) • Discrete variables(ไม่ต่อเนื่อง) เช่น จำนวนรถ บ้าน คนที่ไปธนาคาร จำนวนสัตว์เลี้ยง • Continuous Variable(ต่อเนื่อง) เช่น เวลา ความสูง น้ำหนัก ปริมาณโซดา ผลผลิตของมันฝรั่ง
1.5.2 Qualitative or Categorical Variables ตัวแปรที่ไม่สามารถวัดค่าเป็นตัวเลขแต่สามารถแบ่งแยกประเภทได้เช่น สถานะของนักศึกษาในวิทยาลัยเพศของบุคคล สีผมและสีของรถยนต์
รูปที่ 1.2 แสดงประเภทของตัวแปร ตัวแปร ตัวแปรเชิงปริมาณ ตัวแปรเชิงคุณภาพ เช่น สีผม, เพศ, ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ตัวแปรต่อเนื่อง เช่น ความยาว,อายุ,น้ำหนัก,ส่วนสูง,เวลา ตัวแปรไม่ต่อเนื่อง เช่น จำนวนบ้าน, รถยนต์, อุบัติเหตุ
1.6 Cross-Section Vs Time-Series Data • Cross-section data ข้อมูลที่เก็บในองค์ประกอบที่แตกต่างกันที่จุดเดียวกันในช่วงเวลาเดียวกัน • Time-Series Dataข้อมูลชุดหนึ่งมีข้อมูลเกี่ยวกับองค์ประกอบเดียวกันในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน
ตาราง 1.2แสดงจำนวนเฉลี่ยผู้เข้าชมการพูด Talk Show ผู้เข้าชม (ล้านคน) Dr. Phil 6.5 Maury 4.1 Jerry Springer 3.3 Montel Williams 3.2 Ellen 2.2
ตาราง 1.3จำนวนการปะทะกันระหว่างสัตว์ป่าและเครื่องบินพลเรือน ปี ค.ศ. Number of Collisions 1990 1990 1995 2775 2000 6323 2002 6556
1.7 Sources of Data แหล่งภายในเช่น แฟ้มประวัติบุคคลของบริษัทหรือบันทึกทางบัญชี แหล่งภายนอกเช่น สื่อ สิ่งพิมพ์ นโยบายแห่งสหรัฐอเมริกา หรือการสำรวจและการทดสอบ เวบไซด์ต่าง ๆ เช่น
1.7 Sources of Data (ต่อ) • www.census.gov (สำนักสำมะโนประชากร) • www.bls.gov (สำนักแรงงานสถิติ) • www.ojp.usdoj.gov/bjs(สำนักงานยุติธรรม) • www.os.dhhs.gov (กรมอนามัยในสหรัฐ) • www.suda.gov/nass/pubs/agstats.htm (กรมการเกษตรในสหรัฐอเมริกา)
1.8 Summation Notation เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนผลรวมของค่าต่างๆ ใช้อักษรกรีก ∑(ซิกมา) เช่น ราคาของหนังสือห้าเล่มเป็น ดังนี้ 75, 80, 35, 97 และ 88 สามารถเขียนได้ดังนี้
1.8 Summation Notation(ต่อ) ราคาของหนังสือเล่มที่หนึ่ง = X1 = 75 ราคาของหนังสือเล่มที่สอง = X2 = 80 ราคาของหนังสือเล่มที่สาม = X3= 35 ราคาของหนังสือเล่มที่สี่ = X4 = 97 ราคาของหนังสือเล่มที่ห้า = X5 = 88 ในทำนองเดียวกัน แสดงจำนวนหนังสือ
ตัวอย่าง 1.1เงินเดือนของพนักงานสี่คนเป็นดังนี้ 75, 42, 125 และ 61 (พัน) จงหาa. ∑X b. (∑X)2 c. ∑X2 วิธีทำa. ∑X = X1 + X2 + X3 + X4 = 75 + 42 + 125 + 61 = 303
b.(∑X)2เป็นการยกกำลังสองของผลรวมของ X ดังนั้น (∑X)2 = (303)2 = 91,089 c. ∑X2 = (75)2 +(42)2 +(125)2 +(61)2 = 5,625+1764+15,725+3721 = 26,735
ตัวอย่าง 1.2ตารางแสดงค่าของตัวแปรดังนี้ m 12 15 20 30 f 5 9 10 16 จงหาa. ∑m b. ∑f2 c. ∑mf d. ∑m2f
mf f2 125 (5)2 = 25 159 (9)2 = 81 2010 (10)2 = 100 30 16 (16)2 = 256 ∑m=77∑f=40∑f2=462
mf m2f 12(5) = 60(12)2(5) = 720 15(9) = 135(15)2(9) = 2025 20(10) = 200(20)2(10) = 4000 30(16) = 60(30)2(16) = 14,400 ∑mf= 875∑m2f= 21,145
จากตารางสามารถอธิบายได้ดังนี้จากตารางสามารถอธิบายได้ดังนี้ - คอลัมน์แรกแสดงค่าของ ตัวแปร m ผลรวมของค่าเหล่านี้เท่ากับ 77 - คอลัมน์ที่สองแสดงค่าของ ตัวแปร f ผลรวมของคอลัมน์นี้เท่ากับ 40 - คอลัมน์ที่สามนำค่าของ f มายกกำลังสอง เช่น ค่าแรกคือ 25 เป็นการนำ 5 มายกกำลังสอง ผลรวมของค่าในคอลัมน์นี้เท่ากับ 462 - สี่คอลัมน์ที่สี่นำค่าของ m และค่า f ตรงกัน เช่นค่าแรก 60 ในคอลัมน์นี้ได้โดยนำ 12 และ 5คูณกัน ผลรวมของค่าในคอลัมน์นี้เท่ากับ 875 - ถัดไปนำค่า m ที่ยกกำลังสองแล้วคูณด้วยค่า f ที่ตรงกัน ผลที่ได้นำไปบันทึกในคอลัมน์ที่ห้า เช่นค่าแรก 720 เป็นค่าที่ได้โดย 12 ที่ยกกำลังสองแล้วคูณด้วย 5 ผลรวมของค่าในคอลัมน์นี้ให้เท่ากับ 21,145