1 / 45

ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ( Increased intracranial pressure)

ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ( Increased intracranial pressure). อ.พัชรินทร์ ไชยสุรินทร์. 1. 2. 3. 4. 5. อธิบายความหมาย สาเหตุ S/S ของภาวะ IICP ได้. อธิบายพยาธิสรีรภาพของการเกิด IICP ได้. อธิบายการประเมินทางการพยาบาลของภาวะ IICP ได้. ระบุข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลของภาวะ IICP ได้.

lani-lawson
Download Presentation

ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ( Increased intracranial pressure)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง(Increased intracranial pressure) อ.พัชรินทร์ ไชยสุรินทร์

  2. 1 2 3 4 5 อธิบายความหมาย สาเหตุ S/S ของภาวะ IICP ได้ อธิบายพยาธิสรีรภาพของการเกิด IICP ได้ อธิบายการประเมินทางการพยาบาลของภาวะ IICP ได้ ระบุข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลของภาวะ IICP ได้ อธิบายการพยาบาลในผู้ป่วยที่มีภาวะ IICP ได้ วัตถุประสงค์ Company Logo

  3. Company Logo

  4. ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง(IICP)ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง(IICP) • กลุ่มอาการที่เป็นผลจากการมีความพร่องของสมดุลระหว่างปริมาตรและความดันภายในกะโหลกศีรษะ • ความดันในกะโหลกศีรษะ (ICP) ~ 0–15 mm.Hg • ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นจะทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อสมอง (brain injury) (>20 mm.Hg) Company Logo

  5. CSF (10%) Brain เลือด (12%) เนื้อสมอง (78%) โครงสร้างของสมอง Company Logo

  6. Increases in CSF • CSF pathway obstruction • Increase CSF production • Decrease CSF absorbtion • Increases inblood • hematoma • vasodilation • hypoventilation • hypercarbia / hypoxia • venous outflow obstructions • Increases in brain volume • head injury • stroke • reactive edema • tumor • abscess Causes ofIICP Company Logo

  7. IICP • Decrease CPP cerebral ischemia • (CPP = MAP – ICP) • Brain herniation •  brain injury (brian stem) • ischemic • death Pathophysiology Company Logo

  8. ตำแหน่งที่เกิด Brain herniation cardiovascular center, respiratory center ที่ก้านสมอง (brain stem) ถูกกด ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ในเวลาอันรวดเร็ว Company Logo

  9. Skull non-distensible cavity 1 2 If volume of one of constituents of intracranial cavity increases, reciprocal decrease in one or both of others 3 Pressure rises when volume added exceeds compensatory capacity Pathophysiology “Monro-Kellie hypothesis” Company Logo

  10. 1.Volume Compensation mechanism of IICP • เพิ่มการขับน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง ในสมองและเวนตริเคิลลงสู่ไขสันหลัง • เพิ่มการดูดกลับและลดการสร้างน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง • มีการหดของหลอดเลือดสมอง และเพิ่มการไหลกลับของเลือดดำ Company Logo

  11. Compensation mechanism of IICP • small increases in volume can change ICP significantly Company Logo

  12. 2.CBF Compensation mechanism of IICP • autoregulation of cerebral blood flow • ขนาดของหลอดเลือดจะขยายหรือหดตัว เพื่อให้ปริมาณเลือดหล่อเลี้ยงสมองอยู่ในระดับคงที่ และเนื้อเยื่อสมองได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ (แรงดันกำซาบเนื้อเยื่อสมอง) • แรงดันกำซาบเนื้อเยื่อสมอง (Cerebral perfusion pressure [CPP]) = 70-100 มิลลิเมตรปรอท • CPP = MAP–ICP • MAP= 1/3 * SBP + 2/3 * DBP Or MAP = SBP-DBP + DBP 3 Company Logo

  13. ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด IICP • cerebral autoregulationสูญเสียไป • ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง (>45); vasodilatation • เนื้อเยื่อสมองมีเลือดไปเลี้ยงลดลง; ท่านอนไม่เหมาะสม • ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ (<60) • ภาวะการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อสมอง Company Logo

  14. ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด IICP • Mechanisms that increase intrathoracic or intraabdominal pressure valsalva’ s maneuverIICP • Body temperature  Cerebral metabolic rate  IICP Company Logo

  15. ICP monitoring A. Intraparenchymal fiberoptic probe subdural space/ventricle ต่อกับ external transducer (ถูกต้องแม่นยำสูง แต่มีราคาสูง)B. Intraventricular catheter, Moventicular catheterlateral ventricle (ถูกต้องแม่นยำสูง สามารถระบาย CSF แต่มีปัญหาการติดเชื้อ)C. Epidural monitoring ไม่ได้วัดที่ CSF โดยตรง (แม่นยำน้อย ไม่สามารถระบาย CSF ได้ แต่ปลอดภัยสูง)D. Subarachnoid screw/bolt วัดที่ CSF โดยตรง (ปัญหา Screw อุดตันและติดเชื้อสูง) Company Logo

  16. Pressure waves A waves (Plateau waves): 50-100 mmHg พบได้เมื่อมี IICP~15-20 นาที พบได้นาน 5-20 นาที แสดงนัยที่บ่งบอกถึงภาวะ IICP B waves: 20-50 mmHg สัมพันธ์กับ RR แสดงนัยต่อการเกิดภาวะ IICP น้อยคลื่นมีลักษณะเป็น sawtooth พบได้นาน ~30วินาที - 2 นาที มักเกิดขึ้นก่อน A waves C waves: <20 mmHg สัมพันธ์กับ RR และ BP เกิดขึ้นได้ 4-8 T/min ไม่ชัดเจนถึงนัยต่อการเกิด IICP Company Logo

  17. Clinical Manifestations IICP • 1. ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง (ซึมลงหรือสับสน) • 2. Cushing's triad; hypertension, bradycardia, irregular respiration • 3. ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง มี decorticate, decerebrate และกล้ามเนื้ออ่อนแรง • 4. อาการอื่นๆ เช่น ปวดศีรษะมาก อาเจียนพุ่ง* รูม่านตาบวม (papilledema) • อาการระยะท้าย; coma หยุดหายใจหรือหายใจแบบ Cheyne- strokes อุณหภูมิร่างกายจะเพิ่มขึ้น รูม่านตาขยายหรือไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง Company Logo

  18. Clinical Manifestations IICP Company Logo

  19. Clinical Manifestations IICP Cheyne-Stokes respirations Company Logo

  20. Interventions • 1. ติดตามค่า ICP, CPP, V/S& arterial pressure • 2. การรักษาด้วยการผ่าตัด • ventriculostomy ระบาย CSF • craniotomy or craniectomy decompression • 3. การรักษาด้วยยา ได้แก่ • -barbiturate;pentobarbital,thiopental  barbiturate comaลด brain metabolism, cerebral oxygen consumption & cerebral blood flow ลด ICP **ระวังภาวะ hypotention • - reduce cellular metabolic demands; sedatives ติดตามค่า ICP • - เพิ่ม CPP ลด ICP ; Dopamine, Phynylephrine Company Logo

  21. Interventions • - osmotic diuretic ;mannitolserum osmolalityเพิ่มขึ้น ดึง free water จากเนื้อสมอง • - steroid ;decadronลด brain edema, ลดการสร้าง CSF, ช่วยปกป้องblood-brain barrier และผนังเซลล์ • 4. การดูแลเรื่องการหายใจ โดยใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ** • PaCO2 35-45 mmHg • PaO2  >60 % (PaCO2 สูง cerebral vasodilatationIICP) • 5. temperature control; ยาลดไข้ และใช้ผ้าห่มเย็น ติดตามอุณหภูมิร่างกาย สังเกตอาการสั่น สวนล้างกระเพาะอาหารด้วยน้ำเย็น • 6. restrict fluids Company Logo

  22. Assessment • 1. การซักประวัติ : การบาดเจ็บ/เหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเจ็บป่วยอาการและอาการแสดง • 2. การตรวจรางกาย : • ประเมินระดับความรู้สึกตัว (LOC) • Glasgow Coma Scale (GCS) • Vital signsCushing's triad • pupil reaction, size, conjugate Company Logo

  23. Assessment Level of Consciousness : LOC Alert Lethargic Obtunded Stuporous Comatose Company Logo

  24. Assessment GCS < 8 คะแนน coma GCS = 3 คะแนน deep coma Company Logo

  25. Confuse!! Company Logo

  26. สถานการณ์ • ผู้บาดเจ็บศีรษะรายหนึ่ง ถูกตำรวจนำส่งโรงพยาบาล จากการประเมินพบว่า เมื่อกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด ไม่ลืมตา ร้องเปล่งเสียงออกมาแต่จับใจความไม่ได้ ขณะถูกกระตุ้น แขนขาทั้งสองข้างจะเกร็งและเหยีดออก หลังแอ่น • จากการประเมิน GCS ผู้บาดเจ็บรายนี้ได้คะแนนเท่าไหร่ และอยู่ในภาวะใด E1V2M2 (coma)

  27. Assessment • head injury • GCS 13-15 คะแนน  minor head injury • GCS 9-12 คะแนน  moderate head injury • GCS 3-8 คะแนน  severe head injury Company Logo

  28. Assessment • pupil reaction • pupil reactionto light  normal • pupil sluggishto light จาก N3 ถูกกด(oculomotor nerve) สาเหตุจาก brain herniation,brain edema • pupildilate >6ml.& non reactionto light coma พบร่วมกับ N3 ถูกกด • ผิดปกติข้างใด ความผิดปกติของสมองในซีกนั้น Company Logo

  29. Light Reflex Tests Company Logo

  30. Assessment • eye movement doll’s eyes maneuver Company Logo

  31. Assessment • eye movement oculovestibular reflex/caloric test (ศีรษะสูง 30 องศา) Company Logo

  32. Assessment • 3.Motor power; “6 grade” เกรด 0ไม่มีการหดตัวของกล้ามเนื้อเลย เกรด 1สามารถมองเห็นหรือการคลำการหดตัวของ กล้ามเนื้อได้ แต่ไม่สามารถขยับข้อได้ เกรด 2กล้ามเนื้อมีกำลังพอที่จะเคลื่อนไหวข้อตามแนวราบได้ เกรด 3กล้ามเนื้อมีกำลังพอที่จะเคลื่อนไหวข้อต้าน แรงโน้มถ่วงได้ แต่ไม่สามารถต้านแรงผู้ตรวจได้ เกรด 4กล้ามเนื้อมีกำลังพอที่จะเคลื่อนไหวข้อต้านแรงผู้ตรวจได้ แต่ไม่เต็มที่ เกรด 5กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงปกติ สามารถเคลื่อนไหวข้อ ต้าน แรงผู้ตรวจได้เต็มที่ Company Logo

  33. Assessment • 4.การตรวจพิเศษอื่นๆ • การวัดความดันในกะโหลกศีรษะ (ICP) • การวัดความดันกำซาบเนื้อเยื่อสมอง (CPP) = MAP – ICP • การตรวจอื่นๆ ;CT- scan,MRI • หลีกเลี่ยง การทำ Lumbar puncture; อาจทำให้เกิดภาวะ brain herniation ตามมา Company Logo

  34. Nursing diagnosis • 1. แรงดันกำซาบเนื้อเยื่อสมองเปลี่ยนแปลง • 2. แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ • 3. ความสามารถในการทำทางเดินหายใจโล่งไม่มีปสภ. • 4. แบบแผนการขับถ่ายเปลี่ยนแปลง • 5. ไม่สุขสบายจากอุณหภูมิร่างกายสูง • 6. เสี่ยงต่อภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ อิเลคโตรไลท์ และสารอาหาร Company Logo

  35. Nursing interventions • 1. นอนศีรษะสูง ~30 องศา ศีรษะไม่ก้มหรือเงยมากเกินไป เพื่อให้การระบายของเลือดกลับเข้าสู่หัวใจได้ดีขึ้น เลี่ยงการงอข้อสะโพกที่มากเกินไป เลี่ยงการนอนท่าคว่ำหรือศีรษะต่ำกว่าปลายเท้า • 2. V/S, N/S, LOC, GCS ทุก 15-30 นาที หรือ 1 ชั่วโมงตามสภาพของผู้ป่วย • 3.ดูแลการได้รับ O2 ดูดเสมหะตามความจำเป็นและมีประสิทธิภาพ (hyperoxygenation & hyperventilation) ไม่เกิน 15 วินาที/รอบ • 4. ดูแลเรื่องการใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ ติดตามการหายใจ และ ABG • 5. เลี่ยงสิ่งที่จะทำให้เพิ่มความดันในช่องอก; การไอ การเบ่ง การใช้เครื่องช่วยหายใจที่เพิ่ม PEEP (positive end expiratory pressure) Company Logo

  36. Nursing interventions • 6. เลี่ยงการกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการเกร็ง และเลี่ยงการผูกมัด • 7. พลิกตัวจัดท่านอนทุก 2 ชั่วโมงช่วยเคาะปอด ป้องกันการตกค้างของเสมหะ • 8. ดูแล Temp. ในรายที่มีการติดเชื้ออาจต้องให้ ABO • 9. ดูแลให้ได้รับยา antihypertensives, osmotic diuretic • 10. IV fluid ประเมิน intake & output ความตึงตัวของผิวหนังและเยื่อบุต่างๆ ติดตามค่า serum & urineosmolality • 11.ประเมิน bowel sounds และอาการอืดแน่นท้องของผู้ป่วย อาจต้องดูแลให้ได้รับยาระบายเพื่อลดการเบ่งถ่ายอุจจาระ Company Logo

  37. Nursing interventions • 12. ประเมินการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระของผู้ป่วย บันทึก urine output, urine specific gravity & glucose หากคาสายสวนปัสสาวะป้องกันการติดเชื้อ • 13. ลดความไม่สุขสบายต่างๆ ดูแลความสะอาดของร่างกายและช่องปาก ฟัน • 14. ลดกิจกรรมการพยาบาลที่รบกวนผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น บางรายอาจต้องให้ยากล่อมประสาท • 15. ดูแลป้องกันอันตรายจากการชัก ป้องกันการกัดลิ้น เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ป้องกันอุบัติเหตุในระหว่างการชัก ยกไม่กั้นเตียงขึ้น สังเกตุอาการลักษณะการชัก Company Logo

  38. Nursing interventions • 16. ผ่าตัด ventriculostomy ดูแลให้มีการระบายให้เหมาะสม • 17.1 นอนศีรษะสูง ~15-30 องศา • 17.2 ขวดรองรับสารเหลวไม่อยู่ต่ำกว่าระดับช่องเวนตริเคิล (ระดับจุดหยดของขวดหรือถุง ventriculostomydrain เหนือรูหู ~10cm.) อัตราการไหลช้าๆ เพราะหากเร็วเกินไป สมองอาจยุบตัวเร็ว เกิดการดึงรั้งที่ชั้น dura การฉีกขาดของ bridging cortical vein  subdural hematoma • 17.3 ดูแลไม่ให้ท่อระบายหักพับงอ ในกรณีเลื่อนหลุด ให้รีบหักพับสายส่วนที่อยู่ใกล้ศีรษะผู้ป่วยทันที เพื่อป้องกันการไหลย้อนกลับ และลดอัตราการติดเชื้อ • 17.4 ตรวจสอบผ้าปิดแผล สังเกตการรั่วซึมที่อาจเกิดขึ้น • 17.5 ประเมินและบันทึก สี ลักษณะของสารเหลวทุก 1-2 ชม. Company Logo

  39. ventriculostomy Company Logo

  40. วัดระดับจุดหยดของขวดหรือถุง ventriculostomydrain เหนือรูหู ~10cm. Company Logo

  41. Nursing interventions • 17. ผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ (craniotomy) การดูแลเพิ่มเติม • 18.1 นอนศีรษะสูง ~15-30 องศา • 18.2 ตรวจสอบแผล ซึ่งจะปิดด้วยผ้ากอซแล้วพันทับด้วยผ้ายืด สังเกตลักษณะ ปริมาณ กลิ่นของสิ่งคัดหลั่งที่ออกมาจากแผล หากซึมมากสามารถทำแผลได้ • 18.3 พลิกตะแคงตัวได้ ยกเว้นในรายที่ผ่าตัดเอาก้อนเลือดขนาดใหญ่ออกมา ไม่ควรนอนตะแคงศีรษะเพราะอาจทำให้สมองเคลื่อนไปซีกตรงข้ามได้ Company Logo

  42. craniotomy Company Logo

  43. craniotomy Company Logo

  44. Post craniotomy

  45. Thank You !

More Related