210 likes | 359 Views
การจัดการดินอินทรีย์เพื่อปลูกปาล์มสาคู. Management of Organic Soil for Growing sago palm. ผู้ทำงานวิจัย. นายบุญณรงค์ ธานีรัตน์ นายถาวร มีชัย นางสายหยุด เพ็ชรสุข. Mr.Boonnarong Thaneerat Mr.Taworn Meechai Mrs.Saiyud Phetsuk.
E N D
การจัดการดินอินทรีย์เพื่อปลูกปาล์มสาคูการจัดการดินอินทรีย์เพื่อปลูกปาล์มสาคู Management of Organic Soil for Growing sago palm ผู้ทำงานวิจัย นายบุญณรงค์ ธานีรัตน์ นายถาวร มีชัย นางสายหยุด เพ็ชรสุข Mr.Boonnarong Thaneerat Mr.Taworn Meechai Mrs.Saiyud Phetsuk ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ปาล์มสาคู(Sago) เป็นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วน ดินเหนียว และดินพีท (peat) มีความทนทานต่อความเป็นกรดสูง พบมากในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศ
ลักษณะของปาล์มสาคู ใบ ดอก ลำต้น เรือนยอด ราก ผล
ประโยชน์ปาล์มสาคู ใบใช้ทำจากมุงหลังคา เนื้อในของส่วนลำต้นใช้เลี้ยงสัตว์ สกัดเอาแป้งจากลำต้นมาใช้เป็นอาหาร เปลือกนอกของลำต้นมาทำเป็นเชื้อเพลิง ไม้ปูพื้น ก้านใบมาใช้สร้างที่พักชั่วคราว เปลือกนอกของก้านใบมาสาน ทำเสื่อ หรือฝาบ้าน น้ำเลี้ยงจากก้านใบมาทำกาว ใบย่อยมาห่อขนม “ขนมจาก” ก้านใบย่อยมาทำไม้กวาด
ประโยชน์ปาล์มสาคู ยอดอ่อนของลำต้นเป็นอาหาร เก็บตัวอ่อนของด้วงสาคูมารับประทาน รากทำยาพื้นบ้าน ผลใช้รับประทาน ปลูกเป็นไม้ประดับ ไม้ร่ม เป็นแนวกันลม ป้องกันการกัดเซาะหรือ พังทลายของหน้าดิน ปลูกเป็นแถวหรือแนว แสดงแนวเขตพื้นที่อนุรักษ์
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอัตราปูนและปุ๋ยเคมีที่เหมาะสม ต่อการเจริญเติบโตของปาล์มสาคูในดินอินทรีย์ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีของดิน เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมการปลูกปาล์มสาคู สู่เกษตรกรต่อไป
อุปกรณ์และวิธีการ วางแผนการทดลองแบบ (3×3) Factorial inRCBD ประกอบด้วย 2 ปัจจัย ปัจจัย A คือ การใส่ปูน ปัจจัย B คือ การใส่ปุ๋ย
อุปกรณ์และวิธีการ ตำรับการทดลอง 9 ตำรับ จำนวน 4 ซ้ำ แต่ละตำรับมี 4 ต้น ตำรับที่ 1กรรมวิธีไม่ใส่ปูน+ไม่ใส่ปุ๋ย ตำรับที่ 2 กรรมวิธีไม่ใส่ปูน+ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 ตำรับที่ 3 กรรมวิธีไม่ใส่ปูน+ใส่หินฟอสเฟต ตำรับที่ 4 กรรมวิธีใส่ปูนครึ่งหนึ่งของค่าความต้องการปูนของดิน (½LR)+ ไม่ใส่ปุ๋ย ตำรับที่ 5 กรรมวิธีใส่ปูนครึ่งหนึ่งของค่าความต้องการปูนของดิน (½LR)+ ใส่ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 ตำรับที่ 6 กรรมวิธีใส่ปูนครึ่งหนึ่งของค่าความต้องการปูนของดิน (½LR)+ ใส่หินฟอสเฟต ตำรับที่ 7กรรมวิธีใส่ปูนเท่ากับค่าความต้องการปูนของดิน (LR)+ไม่ใส่ปุ๋ย ตำรับที่ 8กรรมวิธีใส่ปูนเท่ากับค่าความต้องการปูนของดิน (LR)+ใส่ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 ตำรับที่ 9 กรรมวิธีใส่ปูนเท่ากับค่าความต้องการปูนของดิน (LR)+ ใส่หินฟอสเฟต
อุปกรณ์และวิธีการ การเก็บรวบรวมข้อมูล วัดการเจริญเติบโตทางด้านความสูง วัดขนาดเส้นรอบโคน นับจำนวนการแตกหน่อ การเก็บตัวอย่างดิน (pH, OM, Available P, Extractable K)
กรรมวิธีไม่ใส่ปูน กรรมวิธีใส่ปูน 1/2LR กรรมวิธีใส่ปูน LR ผลการทดลอง ศึกษาอิทธิพลของปูนและปุ๋ยต่อการเจริญเติบโต ของปาล์มสาคู การเจริญเติบโตทางด้านความสูง
กรรมวิธีไม่ใส่ปูน กรรมวิธีใส่ปูน 1/2LR กรรมวิธีใส่ปูน LR ผลการทดลอง ศึกษาอิทธิพลของปูนและปุ๋ยต่อการเจริญเติบโต ของปาล์มสาคู ขนาดเส้นรอบโคน
กรรมวิธีไม่ใส่ปูน กรรมวิธีใส่ปูน 1/2LR กรรมวิธีใส่ปูน LR ผลการทดลอง ศึกษาอิทธิพลของปูนและปุ๋ยต่อการเจริญเติบโต ของปาล์มสาคู จำนวนการแตกหน่อ
ผลการทดลอง ศึกษาอิทธิพลของปูนและปุ๋ยต่อการเจริญเติบโต ของปาล์มสาคู
สรุปผลการทดลอง การเจริญเติบโตทางด้านความสูง ใส่ปูนครึ่งหนึ่งของความ ต้องการปูนร่วมกับหินฟอสเฟต ใส่ปูนเต็มอัตราร่วมกับ การใส่ปุ๋ยเคมี ไม่ใส่วัสดุใด ๆ
สรุปผลการทดลอง ขนาดเส้นรอบโคน ใส่ปูนครึ่งหนึ่งของความต้องการปูนร่วมกับ หินฟอสเฟต ใส่ปูนครึ่งหนึ่งของความต้องการปูน ใส่ปูนครึ่งหนึ่งของความต้องการปูนร่วมกับปุ๋ยเคมี
สรุปผลการทดลอง จำนวนการแตกหน่อ ใส่ปูนเต็มอัตราร่วมกับหินฟอสเฟต ใส่ปูนเต็มอัตราร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมี ใส่ปูนเต็มอัตรา
ผลการทดลอง ศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีของดิน ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available P) ปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้ (Extractable K)
สรุปผลการทดลอง การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีของดิน ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของดินมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในทุกตำรับการทดลอง ค่าปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (OM) ในตำรับที่ไม่ใส่ปูนมีแนวโน้มลดลง แต่ตำรับที่มีการใส่ปูนมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ค่าปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Available P) ก็มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในตำรับที่มีการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 และตำรับที่ใส่หินฟอสเฟต ส่วนตำรับที่ไม่ใส่ปุ๋ยมีแนวโน้มลดลง ค่าปริมาณโพแทสเซียมที่สกัดได้ (Extractable K) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในตำรับที่มีการใส่ปูนร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 และตำรับที่ใส่ปูนร่วมกับหินฟอสเฟต ส่วนตำรับอื่นมีแนวโน้มลดลง
ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปรียบเทียบปริมาณมวลชีวภาพของปาล์มสาคูในแต่ละตำรับว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร เพราะจะเป็นตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อนำมาประกอบกับตัวชี้วัดอื่น ๆ ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง เพราะเมื่อมีการปลูกปาล์มสาคูเป็นเวลาหลายปี พบว่า มีความหลากหลายทางชีวภาพเพิ่มมากขึ้น และสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติต่าง ๆ ดีขึ้นอย่างชัดเจน ควรมีการศึกษาการใช้ประโยชน์จากส่วนต่าง ๆ ของปาล์มสาคู ทั้งเชิงปริมาณคุณภาพและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจอย่างเป็นรูปธรรม เพราะปาล์มสาคูมีประโยชน์มากมาย เช่น ใบนำมาทำจากมุงหลังคา เนื้อในส่วนลำต้นใช้เลี้ยงสัตว์ แป้งจากลำต้นใช้เป็นอาหารสำหรับมนุษย์ เปลือกนอกลำต้นใช้เป็นเชื้อเพลิง ไม้ปูพื้น นอกจากนี้ยังสามารถนำส่วนอื่น ๆ มาใช้ประโยชน์ได้อีกมากมาย