190 likes | 517 Views
ศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะ ยาเสพติด จังหวัดเชียงราย. การประชุม ประชุมการจัดทำ แผน ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะ ยาเสพติด จังหวัดเชียงราย. นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย. แนวทางการปฏิบัติในปี 2556 วัตถุประสงค์แผนยุทธศาสตร์ฯ ปัญหาความปลอดภัยจากภัย ยาเสพติด ของหมู่บ้าน/ชุมน ต้องลดลง
E N D
ศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดจังหวัดเชียงรายศูนย์อำนวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดจังหวัดเชียงราย การประชุมประชุมการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดจังหวัดเชียงราย
นายวิบูลย์สงวนพงศ์ปลัดกระทรวงมหาดไทยนายวิบูลย์สงวนพงศ์ปลัดกระทรวงมหาดไทย
แนวทางการปฏิบัติในปี 2556 วัตถุประสงค์แผนยุทธศาสตร์ฯ ปัญหาความปลอดภัยจากภัยยาเสพติดของหมู่บ้าน/ชุมน ต้องลดลง ความกระชับมูลด้านต่างๆ การดำเนินงานต้องดีขึ้น การดำเนินงานปีที่ผ่านมาทำได้ดีแล้ว / ปีต่อไปจะทำอย่างไร / แนวโน้ม สถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น มีแผนรองรับย่างไร การทบทวนสถานการณ์การทำงานต้องสรุปชัดเจน การร่วมกันทำงานเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด / การสร้าง มบ. /ชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการดำเนินการด้วยตนเอง / การสร้างภูมิคุ้มกันต้องเกิดในตัวของบุคคลนั้นๆ เอง นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ปลัดกระทรวงมหาดไทย
แนวทางการปฏิบัติในปี 2556 โรงเรียนวิวัฒน์พลเมืองฝ่ายปกครอง และ 1 อำเภอ 1 ศูนย์การบำบัดฯ จะต้องมีการดำเนินการต่อไป เพื่อรองรับ ผู้เสพ/ผู้ติด โครงการ “ชุมชนอุ่นใจได้ลูกหลานกลับคืน” ปฏิบัติการปิดล้อม X-Ray เชิงรุก 90 วัน เป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ขอให้จังหวัด กำชับ อำเภอ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการให้บรรลุเป้าประสงค์ของโครงการ และขยายผลให้ครอบคลุม กระบวนการติดตาม ผู้เสพ/ผู้ติด ที่ผ่านการบำบัด ให้เน้นคุณภาพ หากทำดีให้ขยายผลเพิ่ม และเพิ่มประสิทธิภาพผู้ปฏิบัติ โดยเฉพาะคณะกรรมการหมู่บ้าน ตาสับปะรด หรือพลังแผ่นดิน นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ปลัดกระทรวงมหาดไทย
กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดกระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด จังหวัดเชียงราย ปี 2556
แนวทางการปฏิบัติในปี 2556 จังหวัดแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำแผนปฏิบัติการฯ จังหวัด ประชุมการจัดทำแผนให้แล้วเสร็จ ภายใน ตุลาคม 2555 1. กำหนดเป้าหมายการดำเนินงานให้สอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ โดยส่วนกลางประมาณการเป้าหมายให้จังหวัดตรวจสอบ ๒. แหล่งงบประมาณ คือ สนง.ปปส. , หน่วยงานกระทรวง กรม , องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ งบพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการ 3. บันทึกข้อมูลแผนปฏิบัติการฯ ในระบบ Internet (Nispa) และส่งแผนให้ ศพส.มท. ,สนง.ปปส., ภายในวันที่ ๑๕ พ.ย.๕๕ 4.
แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ประจำปี 2556 • 1. เน้นดำเนินการ “ต่อเนื่องปี 2555” 4 ป้องกัน ได้แก่ • 1.1 ป้องกัน ผู้เสพรายใหม่ในพื้นที่ • 1.2 ป้องกัน พื้นที่/ปัจจัยเสี่ยง • 1.3 ป้องกัน การทำผิดซ้ำ • 1.4 ป้องกัน ชุมชน 2. 3 พัฒนาคุณภาพ 2.1 สร้างเสริมมาตรการ 4 ป้องกัน 2.2 สร้างเสริมความร่วมมือภูมิภาค AEC 2.3 สร้างเสริมงานเชิงคุณภาพ
แผนที่ 1 แผนการเสริมสร้างพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติด หมู่บ้านชุมชน จ.เชียงราย (ประมาณการของส่วนกลาง ม./ช. ทั้งหมด 1,811 ม./ช.) ประเภทที่ 1 ม./ช. ไม่มีปัญหา 529 ม./ช. ประเภทที่ 2 ม./ช. ตำบลติดชายแดน 24 ตำบล ม./ช. ในตำบลชายแดน 302 ม./ช. กอ.รมน. 48 ม. ประเภทที่ 3 กองทุนแม่ของแผ่นดิน เดิม 137 ม./ช. ใหม่ 25 ม./ช. ประเภทที่ 4 ดำเนินการไม่ครบขั้นตอน 217 ม./ช. ดำเนินการครบทุกขั้นตอน 1,533 ม./ช. ประเภทที่ 5 มีปัญหาระดับรุนแรง 9 ม. จัดตั้งผู้ประสานชุมชน ประกอบด้วย ปลัดอำเภอ ตำรวจ พัฒนาชุมชน สาธารณสุข วิทยากรกระบวนการ ชุกวิทยากร กอ.รมน. และ ภาคประชาชน
แผนที่ 2 การแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด • นำผู้เสพ/ผู้ติด ยาเสพติด เข้าบำบัดรักษาทุกระบบ • การพัฒนาคุณภาพชีวิต • วางกรอบติดตามผู้เสพ 1 ปี • เน้นเป็นปีแห่งการติดตามผู้เสพ/ผู้ติด ยาเสพติด • จัดตั้ง 1 อำเภอ 1 ศูนย์การคัดกรอง (การคัดกรองอย่างมืออาชีพ) • ให้นำผู้เสพ/ผู้ติด ยาเสพติด เข้าสู่ระบบสมัครใจบำบัดเป็นอย่างแรกการนำผู้เสพ (ผู้ถูกจับกุม) เข้ารับการบำบัดรักษา ไม่ถือว่าเป็นการละเว้นปฏิบัติหน้าที่ • วิเคราะห์ประมาณการ ผู้เสพรายใหม่ และ ผู้มีพฤติการณ์ซ้ำ • วิเคราะห์ อัตราการกระทำผิดซ้ำ (จับกุม บำบัด) จังหวัดดำเนินการให้น้อยลง
แผนที่ 3 แผนการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด • นักเรียน ป.5 – ป.6 ได้รับการสร้างภูมิคุ้มกัน จ.ชร. จำนวน 27,575 คน แยก ป.5 จำนวน 13,900 คน • ป.6 จำนวน 13,675 คน • สถานศึกษามีกิจกรรมป้องกันและเฝ้าระวังยาเสพติด 207 แห่ง • การป้องกันเยาวชนกลุ่มเสี่ยงนอกสถานศึกษา (มอบ พช.,พมจ.รับผิดชอบร่วม) • ป้องกันการเสพรายใหม่ • ปัจจัยเสี่ยงรอบสถานศึกษาได้รับการแก้ไขทุกจังหวัด • สถานประกอบการ 20 แห่ง มีกิจกรรม โรงงานสีขาว และ To Br Number One
แผนที่ 4 แผนการปราบปรามยาเสพติดและบังคับใช้กฏหมาย • ขยายผลจับกุมนักค้ายาเสพติด • จัดระบบศูนย์ข่าวและปราบปรามยาเสพติด • ยึดทรัพย์ • ปราบปรามเครือข่ายการค้ารายสำคัญ ภาคละ 1 เครือข่าย • พัฒนาประสิทธิภาพระบบการข่าวการปราบปราม • ลดปัญหายาเสพติดได้ทุกอำเภอ
แผนที่ 5 แผนความร่วมมือระหว่างประเทศ • เขตปลอดยาเสพติดAEC2558 • สร้างความสัมพันธ์เพื่อลดปัญหา การผลิต การค้า • สร้างความเข้มแข็งกล ไกความร่วมมือ
แผนที่ 6 แผนงานการสกัดกั้นยาเสพติด • สกัดกั้นยาเสพติดชายแดน • ทำลายเครือข่ายยาเสพติดตามแนวชายแดน • บูรณาการในระดับพื้นที่ • เสริมสร้างความเข้มแข็งหมู่บ้านชายแดน
แผนที่ 7 แผนงานการบริหารจัดการแบบบูรณาการ • พัฒนาระบบบริหารจัดการ • บูรณาการในระดับพื้นที่ • บริหารจัดการพื้นที่พิเศษ (ศพส.ชน.)
ตัวชี้วัดการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตัวชี้วัดการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในภาพรวมของจังหวัด
การดำเนินการตามข้อสั่งการอื่นๆการดำเนินการตามข้อสั่งการอื่นๆ • การประเมินหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติด โดยใช้ดัชนีตัวชี้วัดปัญหายาเสพติด หมู่บ้าน/ชุมชน 10 ขั้นตอน • แผนปฏิบัติการโครงการ “ชุมชนอุ่นใจได้ลูกหลานกลับคืน”ปฏิบัติการ X-Ray เชิงรุก 90 วัน ในส่วนของจังหวัดดำเนินการ ดังนี้ • - มอบหมายให้อำเภอพิจารณาคัดเลือก หมู่บ้าน/ชุมชน ที่มีการแพร่ระบาด รุนแรง (จังหวัดได้รวบรวมจัดทำโครงการฯ แล้ว) • - ในระยะที่ 1 มอบหมายนายอำเภอ เป็นเจ้าภาพหลักในการแต่งตั้งบุคคล มอบหมายหน้าที่ จัดกำลังพลรับผิดชอบ จัดทำข้อมูลเป้าหมาย ผู้เสพ/ ผู้ติด/ผู้ค้ายาเสพติด จัดตั้งจุดประสานงานในหมู่บ้าน และ ผู้ประสานชุมชน • ให้ ศพส.จ./อ. บันทึกข้อมูลลงใน War Room ใน Internet ระบบ nispaโปรแกรม IPB และรายงานผลตามห้วงระยะเวลา
แนวทางการประเมินหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติดแนวทางการประเมินหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งเอาชนะยาเสพติด ส่งแบบประเมิน 1 และ 2 ให้ ศพส.อทุกแห่งดำเนินการ รับรายงานกลับ แล้ว รับรองสถานะ รอบ 6 เดือนแรก แจ้งผลสถานะ ม./ช. ให้ ศพส.อ. ตามแบบประเมินที่ 3 รายงานผลสถานะ ม./ช. ให้ ศพส.มท. ทราบตามแบบราย ๑ และ ๒ ให้เสร็จ 31 ต.ค.55 ส่งแบบประเมินที่ 1 ให้ผู้นำ ม./ช. ประเมินตนเอง เสร็จส่งคืน ศพส.อ ประเมินแบบประเมิน ม./ช. ตามแบบประเมินที่ 2 ศพส.อ. ตรวจสอบ และส่งคืนแบบประเมินที่ 1 และ 2 ให้ ศพส.จ.ทราบ ศพส.จังหวัด ศพส.อำเภอ ศพส.มท. ศพส.มบ. ๕ 1 ๔ แบบรายงาน2 แบบรายงาน แบบรายงาน2 ๓ ๒