1 / 55

ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ

ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ. บรรยายโดยนางพรจันทร์ สุริยา นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักงานคลังจังหวัดเชียงราย. 1. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมการจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ . ศ . 2549.

lars-rush
Download Presentation

ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ บรรยายโดยนางพรจันทร์ สุริยา นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักงานคลังจังหวัดเชียงราย 1.

  2. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมการจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมการจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมการจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555

  3. กรอบการนำเสนอ

  4. คำนิยามที่สำคัญ

  5. นิยาม “การฝึกอบรม”: อบรม ประชุม / สัมมนา (วิชาการ เชิงปฏิบัติการ) บรรยายพิเศษ ฝึกศึกษา ฝึกงาน ดูงาน มีโครงการ / หลักสูตร ช่วงเวลาจัดที่แน่นอน เพื่อพัฒนาบุคคล / เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไม่มีการรับปริญญา / ประกาศนียบัตรวิชาชีพ * ไม่ใช่หลักสูตรการเรียนการสอน การศึกษาต่อ ไม่ใช่การประชุมหารือ ประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน 5.

  6. นิยาม (ต่อ) “บุคลากรของรัฐ” : ข้าราชการทุกประเภท รวมทั้งพนักงาน ลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ “เจ้าหน้าที่” : บุคลากรของรัฐที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงาน 6.

  7. นิยาม (ต่อ) “ การประชุมระหว่างประเทศ : การประชุมหรือสัมมนาระหว่างประเทศที่ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ รัฐบาลต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศจัด หรือจัดร่วมกันในประเทศไทยโดยมีผู้แทนจากสองประเทศขึ้นไปเข้าร่วมประชุมหรือสัมมนา “ 7

  8. คำนิยาม ส่วนราชการ หมายถึง สำนักนายกฯ กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น ซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากระทรวง ทบวง กรม รวมทั้งส่วนราชการซึ่งไม่มีฐานะเป็นกรม แต่หัวหน้าส่วนราชการมีฐานะเป็นอธิบดี 8

  9. ตามระเบียบ บททั่วไป การเบิกจ่ายเงินค่าใช้จ่าย นอกเหนือ หรือไม่ สามารถปฏิบัติได้ตามระเบียบ 1

  10. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม 1

  11. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม โครงการ / หลักสูตร การฝึกอบรม ที่ส่วนราชการเป็นผู้จัด หรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่น ต้องได้รับอนุมัติจากหัวหน้าส่วนราชการก่อน เพื่อเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายตามระเบียบนี้ 11

  12. องค์ประกอบการฝึกอบรม 12

  13. การฝึกอบรมแบ่งเป็น 3 ประเภท การฝึกอบรม ประเภท ก เกินกึ่งหนึ่ง เป็นข้าราชการ ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ, ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น, สูง การฝึกอบรม ประเภท ข เกินกึ่งหนึ่งเป็นข้าราชการ ทั่วไป : ปฏิบัติงาน, ชำนาญงาน, อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ, ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น บุคคลภายนอก : ผู้เข้าอบรมเกินกึ่งหนึ่งมิใช่บุคลากรของรัฐ 13

  14. บุคคลที่จะเบิกค่าใช้จ่ายได้บุคคลที่จะเบิกค่าใช้จ่ายได้ 14

  15. การเทียบตำแหน่ง ประธาน แขกผู้มีเกียรติ เจ้าหน้าที่ วิทยากร ผู้สังเกตการณ์ ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ 1

  16. การเทียบตำแหน่ง (ต่อ) ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่มิใช่บุคลากรของรัฐ 1

  17. ประเภทค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมประเภทค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม

  18. ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม (ข้อ 8) @ เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น เหมาะสมและประหยัด เช่น - ค่าใช้และตกแต่งสถานที่ - ค่าใช้จ่ายพิธีเปิด-ปิด - ค่าประกาศนียบัตร - ค่าวัสดุ เครื่องเขียน อุปกรณ์ ฯลฯ - ค่ากระเป๋าเบิกได้ไม่เกินใบละ 300 บาท - ค่าของสมนาคุณในการดูงาน แห่งละ ไม่เกิน 1,500 บาท ฯลฯ 18

  19. ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม (ข้อ 8) (ต่อ) @ค่าใช้จ่ายที่ไม่ต้องดำเนินการตามระเบียบพัสดุ ได้แก่ - ค่าอาหารว่าง-เครื่องดื่ม - ค่าอาหาร - ค่าเช่าที่พัก @หลักฐานการจ่าย - ใบเสร็จรับเงิน - ใบรับรองการจ่ายเงิน - ใบสำคัญรับเงิน 19

  20. ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรมค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม • ให้ส่วนราชการผู้จัดฝึกอบรมใช้ดุลพินิจเบิกจ่ายได้เท่าที่ จ่ายจริง ตามความจำเป็น เหมาะสมและประหยัด • ยกเว้น • 1. ค่าสมนาคุณวิทยากร • 2. ค่าอาหาร • 3. ค่าเช่าที่พัก • 4. ค่าพาหนะ เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์ และอัตราที่กำหนด 20

  21. ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรมค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม • ค่าใช้จ่ายที่ไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ ได้แก่ ค่าอาหารว่าง-เครื่องดื่ม ค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก • ตามหนังสือที่ ก.ค.(กวพ)0421.3/ว193 ลงวันที่ 8 มิ.ย.52 21

  22. ค่าสมนาคุณวิทยากร หลักเกณฑ์การจ่าย บรรยาย ไม่เกิน 1 คน อภิปราย / สัมมนาเป็นคณะ ไม่เกิน 5 คน แบ่งกลุ่ม- ฝึกภาคปฏิบัติ - อภิปราย/สัมมนา - ทำกิจกรรม กรณีมีวิทยากรเกินกว่าจำนวนที่กำหนดให้เฉลี่ยจ่าย ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน 22

  23. อัตราค่าสมนาคุณวิทยากรอัตราค่าสมนาคุณวิทยากร 23

  24. การนับเวลาบรรยาย • นับตามเวลาที่กำหนดในตารางการฝึกอบรม • ไม่ต้องหักเวลาที่พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม • แต่ละชั่วโมงการฝึกอบรมต้องไม่น้อยกว่า 50 นาที • ชั่วโมงการอบรมไม่ถึง 50 นาที แต่ไม่น้อยกว่า 25 นาที ให้เบิกค่าสมนาคุณวิทยากรได้กึ่งหนึ่ง 24

  25. การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรการจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร 25

  26. ค่าอาหาร ให้เบิกเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 26

  27. ค่าอาหาร(ต่อ) 27

  28. ค่าอาหาร @ อยู่ในดุลพินิจจะจัดให้ก่อน / ระหว่าง / หลัง การฝึกอบรม @ เบิกเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราที่กำหนด 28

  29. ค่าเช่าที่พัก หลักเกณฑ์การจัดที่พัก ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ประเภท ข และ บุคคลภายนอก ผู้สังเกตการณ์หรือเจ้าหน้าที่ จัดให้พัก 2 คนขึ้นไป โดยพักห้องพักคู่ ยกเว้นมีเหตุจำเป็นหรือไม่เหมาะสม จัดให้พักห้องพักคนเดียวได้ 29

  30. ระดับการฝึกอบรม ค่าเช่าห้องพักคนเดียว ค่าเช่าห้องพักคู่ 1.ประเภท ก. 2. ประเภท ข. และบุคคลภายนอก อัตราค่าเช่าที่พักในการฝึกอบรมในประเทศ (บาท : วัน : คน) ไม่เกิน 1,100 ไม่เกิน 2,000 ไม่เกิน 1,200 ไม่เกิน 750 30

  31. ค่ายานพาหนะ • 1. ใช้ยานพาหนะของส่วนราชการผู้จัด/ ยืมจากส่วนราชการอื่น / หน่วยงานอื่น เบิกค่าน้ำมันเท่าที่จ่ายจริง • 2. ใช้ยานพาหนะประจำทาง / เช่าเหมายานพาหนะ ให้จัดประเภทยานพาหนะตามสิทธิ ดังนี้ • ประเภท ก. :ประเภทบริหารระดับสูง ยกเว้นเครื่องบินใช้ชั้นธุรกิจ แต่ถ้าไม่สามารถ เดินทางได้ให้ใช้ชั้นหนึ่ง • ประเภท ข.: ประเภทอำนวยการระดับต้น • บุคคลภายนอก :ประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน • โดยให้เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น และประหยัด 31

  32. การเบิกจ่ายค่าพาหนะ ไป – กลับ ระหว่าง ที่อยู่ / ที่พัก / ที่ทำงาน กับที่ฝึกอบรมให้อยู่ ในดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการผู้จัด / ต้นสังกัด 32.

  33. กรณีส่วนราชการผู้จัดไม่จัดอาหาร / ที่พัก / ยานพาหนะ หรือจัดให้บางส่วน ให้ส่วนราชการผู้จัดเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายทั้งหมดหรือในส่วนที่ ขาดตามหลักเกณฑ์ให้แก่ - ประธาน แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม - เจ้าหน้าที่ - วิทยากร - ผู้เข้ารับการฝึกอบรม - ผู้สังเกตการณ์ กรณีผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผู้สังเกตการณ์ที่เป็นบุคลากรของรัฐให้เบิกจากต้นสังกัดตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาเดินทางไปราชการ 33.

  34. การคำนวณเบี้ยเลี้ยง กรณีการฝึกอบรม มีการจัดอาหาร ให้นับเวลาตั้งแต่ออกจากที่อยู่ / ที่ทำงาน จนกลับถึง ที่อยู่ / ที่ทำงาน 24 ชั่วโมงคิดเป็น 1 วัน หรือเกินกว่า 12 ชั่วโมง คิดเป็น 1 วัน กรณีผู้จัดฝึกอบรมจัดอาหารบางมื้อให้หักค่าเบี้ยเลี้ยงที่คำนวณได้มื้อละ 1 ใน 3 ของอัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทางเหมาจ่ายต่อวัน 34

  35. ตัวอย่างคำนวณเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการตัวอย่างคำนวณเบี้ยเลี้ยงเดินทางไปราชการ นักวิชาการคลังระดับปฏิบัติการได้รับคำสั่งให้เดินทางไปราชการ ระหว่างวันที่ 1-2 พ.ย.55 โดยออกจากบ้าน (วันที่ 1) 05.00 น. กลับถึงบ้าน (วันที่ 2) 22.00 น. รวมเวลา 41 ชม. ได้รับเบี้ยเลี้ยง 2 วัน วันที่ 1 เวลา 05.00 น. - วันที่ 2 เวลา 05.00 น. = 24 ชั่วโมง ( 1 วัน) วันที่ 2 เวลา 05.00 น. - วันที่ 2 เวลา 22.00 น. = 17 ชั่วโมง (เกิน 12 ชั่วโมง คิดเป็น 1 วัน) เบี้ยเลี้ยง 240 บาท/วัน เป็นเงิน 480 บาท 35.

  36. กรณีจัดฝึกอบรมบุคคลภายนอก และส่วนราชการ ไม่จัดอาหาร / ที่พัก / ยานพาหนะ หรือจัดให้บางส่วน • ให้จ่ายเงินให้แก่ผู้เข้าฝึกอบรมที่มิใช่บุคลากรของรัฐ ดังนี้ • * ค่าเบี้ยเลี้ยง • - ไม่จัดอาหารทั้ง 3 มื้อจ่ายไม่เกิน240 บาท / วัน/ คน • - จัดอาหารให้ 2 มื้อจ่ายไม่เกิน 80 บาท / วัน / คน • - จัดอาหารให้ 1 มื้อจ่ายไม่เกิน 160 บาท / วัน / คน • * ค่าเช่าที่พัก เหมาจ่ายไม่เกิน 500 บาท / วัน /คน • * ค่าพาหนะ จ่ายจริงหรือเหมาจ่าย (อยู่ในดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการผู้จัด) • ห้ามเบิกค่าเครื่องบิน • ***การเบิกค่าใช้จ่ายให้ใช้แบบใบสำคัญการรับเงินตามที่ระเบียบกำหนด *** 36.

  37. ค่าเครื่องแต่งตัวในการเดินทางไปฝึกอบรมต่างประเทศค่าเครื่องแต่งตัวในการเดินทางไปฝึกอบรมต่างประเทศ • เบิกได้เฉพาะผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่เป็นบุคลากรของรัฐ / • เจ้าหน้าที่ 37

  38. กรณีผู้เข้าฝึกอบรมเดินทางไปฝึกอบรมต่างประเทศ • โดยได้รับความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปฝึกอบรม •  ได้รับความช่วยเหลือทั้งหมด : งดเบิกค่าใช้จ่ายทั้งหมด •  ได้รับความช่วยเหลือบางส่วน : ให้เบิกค่าใช้จ่ายสมทบ ไม่เกินวงเงินที่ได้รับความช่วยเหลือ 38.

  39. ได้รับความช่วยเหลือบางส่วน : ให้เบิกค่าใช้จ่ายสมทบ ไม่เกินวงเงินที่ได้รับความช่วยเหลือ ดังนี้ ค่าเครื่องบิน • ได้รับไป – กลับ : งดเบิก • เที่ยวเดียว : เบิกอีกหนึ่งเที่ยวชั้นเดียวกันแต่ไม่สูงกว่าสิทธิ ค่าที่พัก • จัดให้ : งดเบิก ต่ำกว่าสิทธิ : เบิกเพิ่มส่วนที่ขาด / ไม่เกินสิทธิ 39.

  40. ค่าเบี้ยเลี้ยง • ได้รับต่ำกว่าสิทธิ : เบิกสมทบได้ไม่เกินสิทธิ • มีการจัดเลี้ยง ระหว่างฝึกอบรม เบี้ยเลี้ยงคิดเหมือน อบรมในประเทศ ค่าเครื่องแต่งตัว • ต่ำกว่าสิทธิ : เบิกเพิ่มส่วนที่ขาด / ไม่เกินสิทธิ 40

  41. กรณีจ้างจัดฝึกอบรม • หลักเกณฑ์ / อัตรา ตามที่ระเบียบกำหนด • วิธีการจัดจ้าง ตามระเบียบพัสดุ • ใช้ใบเสร็จรับเงินผู้รับจ้าง เป็นหลักฐานการเบิกจ่าย • ถ้าใช้เครื่องบินโดยสารเป็นยานพาหนะเดินทางไปฝึกอบรมในต่างประเทศให้ปฏิบัติตาม มติ ครม.หรือหนังสือกระทรวงการคลัง 41.

  42. การประเมินผลการฝึกอบรมการประเมินผลการฝึกอบรม • รายงานผลการประเมินการฝึกอบรมต่อ หัวหน้าส่วนราชการผู้จัดภายใน 60 วัน นับแต่วันสิ้นสุด การฝึกอบรม • ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรายงานผลการเข้ารับฝึกอบรม เสนอหัวหน้าส่วนราชการต้นสังกัด ภายใน 60 วัน นับแต่ วันเดินทางกลับถึงที่ปฏิบัติราชการ 42.

  43. ค่าใช้จ่ายในการจัดงานค่าใช้จ่ายในการจัดงาน 43

  44. ค่าใช้จ่ายในการจัดงานค่าใช้จ่ายในการจัดงาน จัดงานตามแผนงาน/โครงการ ตามภารกิจปกติ ตามนโยบายของทางราชการ เช่น วันคล้ายวันสถาปนาส่วนราชการ งานนิทรรศการ แถลงข่าว ประกวดหรือแข่งขันฯ หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาอนุมัติให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นเหมาะสม ประหยัด 44.

  45. กรณีจ้างจัดงาน อยู่ในดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ วิธีการจัดจ้างทำตามระเบียบพัสดุ ใช้ใบเสร็จรับเงินของผู้รับจ้างเป็นหลักฐานการจ่าย 45

  46. ค่าใช้จ่ายในการประชุมระหว่างประเทศ 46

  47. บุคคลที่จะเบิกค่าใช้จ่ายได้บุคคลที่จะเบิกค่าใช้จ่ายได้ • ประธานในพิธีเปิด/ปิด แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม • เจ้าหน้าที่ • เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานลักษณะพิเศษ • วิทยากร • ผู้เข้าร่วมประชุม 47

  48. ค่าใช้จ่าย ก่อน ระหว่าง และหลังการจัดประชุมฯ เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น เหมาะสมและประหยัด ยกเว้น - ค่าสมนาคุณวิทยากร - เงินรางวัลของเจ้าหน้าที่ - ค่าอาหาร - ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์และอัตราที่กำหนด 48.

  49. ส่วนราชการผู้จัดการประชุมฯ เบิกค่าอาหาร ที่พัก และยานพาหนะได้เท่าที่จ่ายจริง ดังนี้ 1. ผู้เข้าร่วมประชุมเป็นบุคคลระดับรัฐมนตรี หรือสมาชิกรัฐสภา ขึ้นไป เบิกค่าใช้จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงโดยเป็นดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ 49.

  50. ส่วนราชการผู้จัดการประชุมฯ เบิกค่าอาหาร ที่พัก และยานพาหนะได้เท่าที่จ่ายจริง ดังนี้ (ต่อ) 2. บุคคล นอกจากข้อ 1 เบิกค่าใช้จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงได้ไม่เกินอัตราดังนี้ 2.1 ค่าอาหารและเครื่องดื่ม - ครบทุกมื้อ ไม่เกิน 1,200 บาท/วัน/คน - ไม่ครบทุกมื้อ ไม่เกิน 800 บาท/วัน/คน 2.2 ค่าเช่าที่พัก ไม่เกิน 2,000 บาท/วัน/คน 2.3 ค่าพาหนะ เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง 50.

More Related