360 likes | 590 Views
สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน. รอบเดือน ตุลาคม 2551 - กันยายน 2552. สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน. สถานบริการ : โรงพยาบาล. สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน. สถานบริการ : สถานีอนามัย. ผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการ. ปีงบประมาณ 2552. ผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการ.
E N D
สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน รอบเดือน ตุลาคม 2551 - กันยายน 2552
สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน สถานบริการ : โรงพยาบาล
สรุปผลการจัดส่งรายงานการเงิน สถานบริการ : สถานีอนามัย
ผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการ ปีงบประมาณ 2552
ผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการผลการประเมินระบบบัญชีของสถานบริการ
สถานการณ์ด้านการเงินการคลังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง รอบเดือน ตุลาคม 2552 - ธันวาคม 2552
ผลการดำเนินงานตามรายตัวชี้วัดหลักผลการดำเนินงานตามรายตัวชี้วัดหลัก รอบเดือน ธันวาคม 2552
วิเคราะห์ สภาพคล่องทางการเงิน
อัตราส่วนทางการเงิน CR QR
สินทรัพย์หมุนเวียน/หนี้สินหมุนเวียนสินทรัพย์หมุนเวียน/หนี้สินหมุนเวียน สินทรัพย์ หนี้สิน
ระยะถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้ระยะถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้ วัน
ระยะถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้ระยะถัวเฉลี่ยในการชำระหนี้
ระยะถัวเฉลี่ยการหมุนเวียนวัสดุคงคลังระยะถัวเฉลี่ยการหมุนเวียนวัสดุคงคลัง
วิเคราะห์ ความสามารถในการทำกำไร
วิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไรวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร
ต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อ RW ไตรมาส1-53 รพท.= 23,153 รพช.>30= 18,356 รพช.<30 = 22,059
เปรียบเทียบต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อRWกับต้นทุนบริการต่อRWเปรียบเทียบต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อRWกับต้นทุนบริการต่อRW รพท.= 23,153 รพช.>30= 18,356 รพช.<30 = 22,059 รพท.= 18,147 รพช.>30= 12,696 รพช.<30 = 15,547
ต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อOPD Visit ไตรมาส1-53 รพท.= 1,215 รพช.>30= 646 รพช.<30 = 659
เปรียบเทียบต้นทุนดำเนินการทั้งหมดต่อ OPD Visit กับต้นทุนบริการต่อOPD Visit รพท.= 1,215 รพช.>30= 646 รพช.<30 = 659 รพท.= 942 รพช.>30= 458 รพช.<30 = 463
จำนวนผู้รับบริการ ผู้ป่วยนอก(ครั้ง) ผู้ป่วยใน(คน)
รายรับและรายจ่ายในการดำเนินงานรายรับและรายจ่ายในการดำเนินงาน
อัตราการครองเตียง/อัตราการใช้เตียงอัตราการครองเตียง/อัตราการใช้เตียง STD:70 STD : 50
อัตราการรับผู้ป่วยในต่อผู้ป่วยนอก/สัดส่วนRefer in ต่อ Refer out STD : 3% STD:0.10
อัตราการตายผู้ป่วยใน/Length Of Stay(LOS)
สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ กลุ่มที่ 1 กลุ่มโรงพยาบาลที่มีสภาพคล่องทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ดีมากมี อัตราส่วนทุนหมุนเวียน มากกว่า 1.5 และมีความสามารถในการชำระหนี้ค่อน ข้างสูงได้แก่ รพ.กระบี่ รพ.คลองท่อม รพ.เขาพนม และรพ.ลำทับ • 1. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีเงินทุนสำรอง หรือมีอัตราเงินทุนหมุนเวียนเดิมเพียงพออยู่แล้ว และมีทุนสำรองสุทธิ ณ ปัจจุบัน สามารถดำรงอยู่ได้มากกว่า 6 เดือน • 2. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีระบบการบริหารจัดการภายในโรงพยาบาลที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสม เช่น มีระบบศูนย์กลางการเรียกเก็บและจัดเก็บลูกหนี้ มีระบบการบริหารภาระหนี้สิน สังเกตุได้จาก ระยะถัวเฉลี่ยวันหมุนเวียนของลูกหนี้/เจ้าหนี้ไม่เกิน 90 วัน และโรงพยาบาลมีระบบศูนย์จำหน่ายผู้ป่วย มีระบบการตรวจสอบสิทธิการรักษาที่มีประสิทธิภาพ มีแผนการเงินรองรับการใช้จ่ายเงินอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดสภาวะรายรับสมดุลกับรายจ่าย • 3. โรงพยาบาลมีระบบการควบคุม กำกับ ติดตาม วิเคราะห์ปัญหาทางด้านการเงินการคลัง และปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ กลุ่มที่ 2 กลุ่มโรงพยาบาลที่มีสภาพคล่องทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ มีสภาพคล่องไม่ดีนัก และแต่ยังคงมีอัตราส่วน เงินสดที่อยู่ในเกณฑ์ดี ซึ่งแสดงถึงยังคงมีความสามารถในชำระหนี้ระยะสั้น โรงพยาบาลในกลุ่มนี้ระยะยาวต้อง มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและรัดกุมมากขึ้น และต้องปรับระบบการบริหารจัดการด้านการเงินให้ เกิดสภาวะรายรับสมดุลกับรายจ่าย ได้แก่ รพ.ปลายพระยา รพ.เหนือคลอง • 1. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีเงินทุนสำรองเพียงพอ ต่อค่าใช้จ่ายประเภท Fixed Cost แต่สำหรับค่าใช้จ่ายในส่วน Variable Cost และการลงทุนในประเภทสินทรัพย์ครุภัณฑ์ ต้องอาศัยระบบการบริหารจัดการที่เหมาะสม • 2. โรงพยาบาลมีระบบการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง ในขอบเขตจำกัด เนื่องจากปัญหาสภาพพื้นที่ ปัญหาเงินทุนสำรองที่มีอยู่อย่างจำกัด และความต้องการพัฒนาคุณภาพงานบริการ สภาพแวดล้อมภูมิทัศน์ภายนอกองค์กร ดังนั้น เพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงิน จะต้องมีปรับระบบการบริหารจัดการให้เกิดสภาวะสมดุลด้านรายรับและรายจ่าย และปรับลดการลงทุนในสินทรัพย์ที่ไม่คุ้มค่าคุ้มทุน
สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์สรุปสภาพปัญหาจากการวิเคราะห์ กลุ่มที่ 3 กลุ่มโรงพยาบาลที่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน โรงพยาบาลกลุ่มนี้ความสามารถในการชำระหนี้ และความสามารถ ในการทำกำไรค่อนข้างต่ำ เนื่องจากโรงพยาบาลจะต้องแบกภาระหนี้สินค่อนข้างสูงและต้องแบกรับภาระต้นทุน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการมาก ถึงแม้จะมีการเพิ่มช่องทางการเก็บรายได้ และสามารถจัดเก็บรายได้เพิ่มขึ้นก็ตาม โรงพยาบาลในกลุ่มนี้จะต้องประคับประคองการใช้จ่ายเงิน ควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่าย ให้มีการใช้จ่ายอย่างสมเหตุสมผล และเป็นไปตามแผน และต้องอาศัยระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและรัดกุม และต้องอาศัยเงินสนับสนุน ช่วยเหลือจากส่วนกลาง ได้แก่ โรงพยาบาลอ่าวลึก และโรงพยาบาลเกาะลันตา • กลุ่มที่3 : กลุ่มโรงพยาบาลที่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน โรงพยาบาลกลุ่มนี้ความสามารถในการชำระหนี้ และความสามารถในการทำกำไรค่อนข้างต่ำ เนื่องจากโรงพยาบาลจะต้องแบกภาระหนี้สินค่อนข้างสูงและต้องแบกรับภาระต้นทุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินการมาก ถึงแม้จะมีการเพิ่มช่องทางการเก็บรายได้ และสามารถจัดเก็บรายได้เพิ่มขึ้นก็ตาม โรงพยาบาลในกลุ่มนี้จะต้องประคับประคองการใช้จ่ายเงิน ควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่าย ให้มีการใช้จ่ายอย่างสมเหตุสมผล และเป็นไปตามแผน และต้องอาศัยระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและรัดกุม และต้องอาศัยเงินสนับสนุนช่วยเหลือจากส่วนกลาง ได้แก่ โรงพยาบาลอ่าวลึก และโรงพยาบาลเกาะลันตา ปัจจัยที่ส่งผลกระทบได้แก่ • 1. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะมีเงินทุนสำรองค่อนข้างน้อยมาก รายได้ส่วนใหญ่ได้จากเงินกองทุน UC ขณะที่ต้องแบกภาระค่าใช้จ่ายงบบุคลากรค่อนข้างสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอัตราค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่เพิ่มขึ้น • 2. โรงพยาบาลกลุ่มนี้จะแบกภาระหนี้สินค่อนข้างสูง เนื่องจากมีกำลังในการชำระหนี้น้อยมาก ทำให้เกิดสภาพหนี้สินทวีคูณ • 3. โรงพยาบาลกลุ่มนี้มีแนวคิดในการบริหารจัดการ ซึ่งได้มีการจัดทำ Financial Reform รองรับ แต่ส่วนใหญ่อยู่ในขอบเขตจำกัด เช่น การบริหารภาระหนี้สิน ไม่สามารถเร่งรัดการเบิกจ่ายชำระหนี้ให้ทันภายในกรอบเวลา ได้แก่ เจ้าหนี้การค้ายา/เวชภัณฑ์ ค่าตอบแทนบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่างๆ • 4. เกิดจากปัญหาสภาพพื้นที่ไม่เอื้ออำนวย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรงพยาบาลเกาะลันตา ซึ่งเป็นพื้นที่ห่างไกล การคมนาคมไม่สะดวก การพัฒนาด้านต่างๆ ค่อนข้างดำเนินการได้จำกัด
ข้อเสนอและแนวทางการแก้ปัญหาข้อเสนอและแนวทางการแก้ปัญหา • รพ.เกาะลันตา ขอสนับสนุนเงินช่วยเหลือเป็นเงิน 2,334,708.15 บาท จากเงินเหลือจ่ายปี49-51โดยโอนจากรพ.คลองท่อม • โรงพยาบาลที่เข้าข่ายประสบปัญหาได้แก่ โรงพยาบาลอ่าวลึกให้จัดทำแผน และกำหนดมาตรการรองรับ • ขอความร่วมมือผู้บริหารของหน่วยบริการเข้าร่วมประชุมCFO จังหวัดทุกครั้ง เนื่องจากหลายประเด็นต้องอาศัยอำนาจการตัดสินใจของผู้บริหาร