1 / 23

บทที่ 6

Computer for Daily Life. Assoc. Prof. Dr. Jeeraporn Werapun. Computer Science, KMITL. บทที่ 6. ซอฟต์แวร์และ การพัฒนาระบบ. หัวข้อ. ประเภทของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ โปรแกรมภาษา โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมช่วยจัดการระบบ วงจรในการพัฒนาระบบสารสนเทศ.

larya
Download Presentation

บทที่ 6

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Computer for Daily Life Assoc. Prof. Dr. Jeeraporn Werapun Computer Science, KMITL บทที่ 6 ซอฟต์แวร์และ การพัฒนาระบบ

  2. หัวข้อ • ประเภทของซอฟต์แวร์ • ซอฟต์แวร์ระบบ • โปรแกรมภาษา • โปรแกรมประยุกต์ • โปรแกรมช่วยจัดการระบบ • วงจรในการพัฒนาระบบสารสนเทศ Good planning plus hard work make for success. วางแผนดี + ทำงานหนัก = ความสำเร็จ

  3. 6.1ประเภทของSoftware Software คือโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานและได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ Softwareแบ่งเป็น 4 กลุ่มตามการใช้งาน ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) • โปรแกรมภาษา (Programming Language) • โปรแกรมประยุกต์ (Application Software) • โปรแกรมช่วยจัดการระบบ(Utility Software)

  4. 6.1.1ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)หรือระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) ทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ในการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ตั้งแต่เปิดเครื่องจนกระทั่งปิดเครื่อง OS พื้นฐาน ได้แก่ BIOS (Basic Input Output System) DOS (Disk Operating System) • Windows • UNIX

  5. ซอฟต์แวร์ระบบ เมื่อเปิดเครื่อง (กด Power ON) เครื่องคอมพิวเตอร์จะอ่านข้อมูลระบบจาก BIOS BIOSจะสั่งให้ทำการPOST (Power On Self Test) กระบวนการ POST ถูกเก็บใน ROM(Read Only Memory) • จะตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ • (ถ้าการตรวจสอบมามีปัญหา จะส่งสัญญาณปี๊บ 1 ครั้ง) • หลังจากการ POSTแล้ว BIOS จะบอก Processor ไปอ่าน Sector แรกของ Hard diskเพื่อทำการ Boot • การ Bootคือขั้นตอนที่คอมพิวเตอร์เริ่มทำการโหลด OS (เช่น Windows) เข้าไปใน RAM

  6. ซอฟต์แวร์ระบบ ตัวอย่างสัญญาณเสียงที่แจ้งโดย BIOS เสียง ความหมาย สั้น 1 ครั้ง การตรวจสอบ Hardware ของ BIOS (POST) ผ่าน สั้น 2 ครั้ง การตรวจสอบ Hardware ของ BIOS ไม่ผ่าน ปัญหาอาจเกิดจากการเสียบ RAM ไม่แน่น ไม่มีเสียง แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) หรือ Mainboard มีปัญหา เสียงต่อเนื่อง แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) หรือ Mainboard มีปัญหา

  7. 6.1.2โปรแกรมภาษา โปรแกรมภาษา(Programming Language) เป็นโปรแกรมที่ประกอบด้วยชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นตามหลักภาษาของแต่ละโปรแกรมภาษา หมายถึงกลุ่มของคำสั่งที่ใช้ในการสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่เรากำหนด โปรแกรมภาษา แบ่งเป็น 5 ยุค ยุคที่ 1: ภาษาระดับต่ำหรือภาษาเครื่อง(Machine Language) • ยุคที่ 2: ภาษาระดับกลางหรือภาษาแอสแซมบลี(Assembly Language) • ยุคที่ 3: ภาษาระดับสูง(High-Level Language): Pascal, C, Java, ... • ยุคที่ 4: 4GL (Fourth-Generation Language): Query Language, … • ยุคที่ 5: 5GL (Fifth-Generation Language): Natural Language, …

  8. ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง(Machine Language) เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ ซึ่งเขียนเป็นรหัสเลขฐาน 2 (0/1) และมีความเกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ภายในเครื่องฯ แต่ยุ่งยากต่อการพัฒนาโดยมนุษย์เรา ตัวอย่างเช่น Object Code 8

  9. ภาษาแอสเซมบลี ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) เป็นภาษาที่เขียนด้วยคำสั่งเป็นคำเฉพาะในภาษาอังกฤษที่มนุษย์เข้าใจ(แทนการใช้รหัสเลขฐาน 2) ออกแบบมาเฉพาะสำหรับคอมพิวเตอร์แต่ละรุ่น ผู้เขียนโปรแกรมยังต้องทราบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์(ทำให้ยังคงยากต่อการพัฒนา) ต้องใช้ตัวแปรภาษาแอสเซมเบอร์(Assembler) ในการแปล ภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง 9

  10. Assembler 10

  11. ภาษาระดับสูง ภาษาระดับสูง(High-Level Languages)เช่น C, JAVA, เป็นภาษาที่พัฒนาได้ง่าย เพราะใช้คำสั่งเป็นภาษาอังกฤษ ใช้คอมไพเลอร์(Compiler)หรือ Interpreter ในการแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง Compilerแปลทั้งโปรแกรม (เช่น Pascal, C, ...) Interpreter แปลทีละบรรทัด ตัวอย่าง โปรแกรมภาษา C 11

  12. 6.1.3โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมประยุกต์ (Application Software) หรือ โปรแกรมสำเร็จรูป เป็นโปรแกรมที่ถูกพัฒนาเพื่อใช้ในงานด้านต่างๆ ตามระบบงานและความต้องการของผู้ใช้ เช่น MS Office (MS Word, MS Power Point, MS Excel, …) โปรแกรมจัดการ DBMS โปรแกรมด้าน Graphics โปรแกรม Game, …

  13. ตัวอย่าง โปรแกรมประยุกต์ • โปรแกรมคำนวณด้วย Microsoft Excel • MS Excel เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปประเภทที่เรียกว่า Spreadsheet (ในตาราง 2 ทาง) คือโปรแกรมสำเร็จรูป ที่ใช้ในการรับข้อมูล คำนวณ และวิเคราะห์ตัวเลข ได้อย่างสะดวก • ตัวอย่างSpreadsheet software • Lotus 1-2-3 • Microsoft Excel (ใน Microsoft Office)

  14. Formula Bar Work Book Work Sheet

  15. Column Cell Row

  16. Label ค่าต่างๆ Cell เริ่มต้น ฟังก์ชันต่างๆ Cell สุดท้าย =AVERAGE(E3:E7) =MAX(E3:E7) =MIN(E3:E7)

  17. 6.1.4โปรแกรมจัดการระบบ • โปรแกรมช่วยจัดการระบบ(Utility Software) • เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป OS ที่ติดตั้งเพิ่ม เพื่อช่วยในการจัดการดูแลการทำงานของระบบ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น • Partition Hard Diskเพื่อแบ่งเนื้อที่ออกเป็นหลายส่วน • Driverสำหรับขับเคลื่อนอุปกรณ์ต่าง เช่น Printer • AntiVirusเพื่อกำจัด/ป้องกันไวรัสในเครื่องคอมพิวเตอร์ • WinZipเพื่อบีบอัดข้อมูล, …

  18. โปรแกรมจัดการฯ Partition Partition 1 Partition 2 Partition 3 • การจัดเตรียม Hard Disk ด้วย FDISK และ Format • คำสั่ง FDISKใช้แบ่งพื้นที่ (Partition) ใน Hard Disk • การ Formatเป็นการจัดเรียงสื่อแม่เหล็กใน Hard Disk ให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นระเบียบสามารถนำมาใช้งาน (เก็บข้อมูล) ได้ เก็บไฟล์งาน ติดตั้ง OS เก็บข้อมูลส่วนตัว Hard Disk Drive C Drive D Drive E

  19. โปรแกรมจัดการฯ Hard Disk ใหม่ ลบ Partition เก่าออก สร้าง Partition เลือก Drive สำหรับ Boot Format Hard Disk ติดตั้ง OS และ Program • การแบ่ง Partition บน Hard Disk สำหรับ Hard Disk เก่า และเพิ่มใหม่อีก 1 ตัว Hard Disk เก่า

  20. วางแผนและ พัฒนาระบบ วิเคราะห์ ระบบ ออกแบบ ระบบ จัดทำและ สร้างระบบ ดูแลบำรุงรักษา ระบบ 6.2การพัฒนาระบบฯ กำหนดและเลือก ระบบในการพัฒนา • วงจรในการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) มี 6 ขั้นตอน 1. กำหนดและเลือกระบบในการพัฒนา 2. วางแผนในการพัฒนา 3. วิเคราะห์ระบบ 4. ออกแบบระบบ 5. จัดทำและสร้างระบบ 6. ดูแลบำรุงรักษาระบบ รวบรวมสารสนเทศและจัดลำดับความสำคัญ วางแผนกำลังคน ขอบเขตงาน กำหนดเวลา งบประมาณ ศึกษาระบบงานเดิมและระบบงานใหม่ ขั้นตอนการทำงานของระบบที่ได้จากการวิเคราะห์

  21. การพัฒนาระบบฯ • ขั้นตอนที่ 3: การวิเคราะห์ระบบ เป็นการศึกษาระบบงานเดิมและระบบงานใหม่ แบ่งเป็น 3 ขั้นตอนย่อยๆ 3.1 กำหนดความต้องการของระบบสารสนเทศ ว่าต้องการให้มีการพัฒนาหรือปรับปรุง นักวิเคราะห์จะต้องรวบรวมข้อมูลจากงานเดิม 3.2 นำข้อมูลที่ได้มาเขียนเป็นโครงสร้าง ของการปฏิบัติงาน เช่น DFD (Data Flow Diagram), System Flowchart, … 3.3 หาวิธีแก้ปัญหา(จากระบบเดิม)และเลือกวิธีที่ดีที่สุด

  22. Thank You • ขอขอบพระคุณภาพประกอบคำบรรยายจากหนังสือ 1. ประกอบพีซี โดย ปิยะ นากสงค์ / อัมรินทร์ เพ็ชรกุล 2. Introduction to Computers โดย Peter Norton 3. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ โดย ธีราวุธ ปัทมวิบูลย์ / สมรัฐ เชตนุช / วรพันธ์ สาระสุรีย์ภรณ์ / นิติ วิทยาวิโรจน์ 22

More Related